อุภัยพากยปริวัตน์ ภาค ๑ - ๒ อุภัยพากยปริวัตน์ ภาค 1-2 หน้า 12
หน้าที่ 12 / 58

สรุปเนื้อหา

เนื้อหานี้เกี่ยวข้องกับอุภัยพากยปริวัตน์ ซึ่งครอบคลุมถึงการใช้สัพพนามและวิภัตติอย่างถูกต้อง พร้อมตัวอย่างเช่น การใช้ภิกษุในประโยคต่างๆ และการเปรียบเทียบระหว่างบุรุษต่างๆ การนำเสนอการใช้ฐานะต่างๆ ของบุคคลในบริบททางศาสนาและวรรณกรรม แสดงให้เห็นถึงความสำคัญของการใช้ภาษาอย่างถูกต้องในสื่อสาร และการศึกษาในศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-อุภัยพากยปริวัตน์
-การใช้สัพพนาม
-การใช้วิภัตติ
-การศึกษาภาษาไทย
-ตัวอย่างการใช้ภาษาศาสตร์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๑ - อุภัยพากยปริวัตน์ ภาค | ๑ - ๒ - หน้าที่ 10 ๑๕๒. อุบาสิกา ท. ไปแล้ว สู่วัด, ธรรม อันเขา ท. ฟังแล้ว. ๑๕๓. ฝน ตกแล้ว, หยาด ท. แห่งมัน เต็มแล้ว ในตุ่ม ๑๙๔. ธิดา แห่งเศรษฐี เกิดแล้ว, เขา ยินดีแล้ว ๑๕๕, เรือ ไปแล้ว ในแม่น้ำ, ภิกษุ ท. 4 นั่งแล้ว ในเรือนั้น ๑๕๖. ศิษย์ ท. เข้าไปใกล้แล้ว ซึ่งอาจารย์, โอวาท อันท่าน ให้ แล้ว แก่เขา ท. ๑๕๗. หญ้า งอกแล้ว ในสวน, หญ้านั้น อันชาวสวน ตายแล้ว (ตัดแล้ว). ๑๕๘. ดอก ท. แห่งต้นโศก บานแล้ว, ดอก ท. นั้น อันตั๊กแตน ท. เคี้ยวกินแล้ว. ๑๕๕. ผล แห่งมะม่วง หล่นแล้ว จากกิ่ง, ผลนั้น อันเด็ก ฉวย เอาแล้ว. ๒๐๐. ทรัพย์ แห่งคนจน หายแล้ว, ทรัพย์นั้น อันโจร ลักแล้ว ๖. เต, เม, โว, โน, มัธยมบุรุษ และอุตตมบุรุษ สัพพนามนั้น ต้องมีบทอื่นนำหน้าก่อน จึงใช้ได้ เช่น อาจริโย โน อาจารย์ ของข้า ท. อยนฺเต ปตฺโต นี้ บาตร ของเจ้า ๓. วิเสสนสัพพนาม ของนามนามบทใด ต้องมีลิงคะ วจนะ วิภัตติ เหมือนลิงคะ วจนะ วิภัตติ ของนามนามบทนั้น เรียงไว้ข้างหน้าแห่งนามนามบทนั้น ดังนี้ ยสฺมึ ภควา ม
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More