การศึกษาอุภัยพากยปริวัตน์ อุภัยพากยปริวัตน์ ภาค 1-2 หน้า 13
หน้าที่ 13 / 58

สรุปเนื้อหา

บทเนื้อหานี้เกี่ยวกับการนำเสนอคำสอนและแนวคิดจากอุภัยพากยปริวัตน์ ภาค ๑ - ๒ ซึ่งมีการอ้างถึงเจ้าลาภและความสุขที่เกิดขึ้นแก่บุคคลต่างๆ รวมถึงแนวคิดเกี่ยวกับความสำคัญของการเรียนรู้และการเข้าใจในพระพุทธศาสนา ผู้เรียนควรทำการแปลประโยคต่างๆ นี้เพื่อสร้างความเข้าใจที่ชัดเจนต่อเนื้อหาเหล่านี้ ซึ่งเกี่ยวข้องกับคติธรรมและความสำคัญของชีวิตที่มีต่อผู้คน โดยแสดงให้เห็นถึงความเชื่อมโยงระหว่างการเรียนรู้ และการปฏิบัติธรรมในพระพุทธศาสนา. ติดต่อข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ dmc.tv

หัวข้อประเด็น

-วิเคราะห์อุภัยพากยปริวัตน์
-ประโยคและการแปล
-หลักธรรมและความสุข
-แนวคิดเกี่ยวกับเจ้าลาภ
-การเรียนรู้ในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๑ - อุภัยพากยปริวัตน์ ภาค ๑ - ๒ - หน้าที่ อภิปฺปสนฺนา, ติ ภควนฺติ สรณ์ คตา, เรา ท. เลื่อมใสยิ่งแล้ว ในพระผู้มีพระภาค ใด, เรา ท. ถึงแล้ว ซึ่งพระผู้มีพระภาคนั้น เป็นที่ระลึก, ถ้าไม่นิยมนามนาม เป็นแต่นิยมลิงค์เท่านั้น จะไม่ เรียงนามนามไว้ด้วยก็ได้ ดังนี้ ยสฺส ลาโภ อุปฺปนฺโน, ตสฺส อลาโภ อุปฺปนฺโน, ลาภ เกิดขึ้นแล้ว แก่ผู้ใด, ความไม่มีลาภ เกิดขึ้นแล้ว แก่ผู้นั้น, ยสฺสา ปุตโต ชาโต, สา ตุฏฺฐา, บุตร ของหญิงใด เกิดแล้ว, หญิงนั้น ยินดีแล้ว ประโยคเหล่านี้ ผู้เรียนจงแปลเป็นไทย ๒๐๑. อญฺญตโร ภิกขุ คาม ปิณฑาย ปวิฏโฐ ๒๐๒. อิมสฺส ปุริสสฺส ปุตฺโต ปพฺพชิโต. ๒๐๓. ยสฺส สุข อุปปันน์, ตสฺส ทุกข์ อุปปันนัง ๒๐๔. มม อาจริโย อมุกสม อาวาเส วสส์ วุตฺโถ. ๒๐๕. เอสา อิตถี นหานาย นที คตา. ๒๐๖. เกน เอตานิ จีวราน ตุยห์ ทินนาน ? มยุห์ อุปฏฐาเกน ๒๐๓. อญฺโญ เม อากปุโป กรณีโย, ๒๐๘. คณโฑ อย สุนโขล กิสมี การเณ โส ตยา โปสโต ? ตสฺมึ อนุกมฺปาย. ๒๐๘. เอโส รุกฺโข วาเตน ปาโต. ตสฺส ปุณณานิ ปติตานิ ๒๑๐. อาจริเยน โน อตฺตโน ปิโย สิสฺโส ตว สนฺติก เปสโต ๒๑๑. ปตฺโต เม นฏฺโฐ, อิมิสส์ กุฏิย์ สามเณเรน นิกขิตโต 11
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More