อุภัยพากยปริวัตน์ ภาค ๑ - ๒ อุภัยพากยปริวัตน์ ภาค 1-2 หน้า 26
หน้าที่ 26 / 58

สรุปเนื้อหา

บทเรียนนี้กล่าวถึงการอุปสมบทและการแสดงธรรมภายในชุมชนพระสงฆ์ พร้อมเน้นการใช้สำนวนและโครงสร้างภาษาที่สอดคล้องกันในบริบทของวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา โดยมีการพูดถึงการสื่อสารระหว่างพระภิกษุและการเสนอแนะในการปฏิบัติธรรม รวมถึงประเด็นต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ผลกระทบและความสำคัญของการศึกษาให้เข้าใจในเนื้อหา.

หัวข้อประเด็น

-การอุปสมบท
-การแสดงธรรม
-การสื่อสารในศาสนา
-ความสำคัญของการศึกษา
-โครงสร้างภาษาในพระไตรปิฎก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๑ - อุภัยพากยปริวัตน์ ภาค ๑ - ๒ - หน้าที่ 24 ผู้เจริญ ข้าฯ ขอ ซึ่งอุปสมบท กะสงฆ์, ถ้ามีสัพพนามหรือ นิบาตอยู่ เรียงอาลปนะไว้ เป็นที่ ๓ บ้าง เป็นที่ ๔ บ้าง ดังนี้: ธมฺม หิ โว ภิกฺขเว เทเสสสามิ, แน่ะภิกษุ ท. เรา จักแสดง ซึ่งธรรม แก่ท่าน ท. กุหี ปน ตฺวํ อาวุโส วสฺสํ วุตฺโถ. ดูก่อนผู้มีอายุ ก็ ท่าน อยู่ ตลอดพรรษาแล้ว ในที่ไหน ? ตามสำนวนอรรถกถา เรียงอาลปนะไว้ข้างต้นบ้าง ในที่สุดแห่ง ภนฺเต ม มา นาเสถ. ข้าแต่ท่านผู้เจริญ ประโยคบ้าง ดังนี้: ขอท่าน ท. อย่ายังข้า ฯ ให้ฉิบหาย. เอวํ กโรหิ มหาราช. ન ข้าแต่พระราชผู้ใหญ่ ขอพระองค์ จงทรงทำอย่างนี้ ประโยคเหล่านี้ ผู้เรียนจงแปลเป็นไทย ๓๔๑. เทว เม ภิกฺขเว อนุตา ปพฺพชิเตน น เสวิตพฺพา ๓๔๒ อิเม โข ปนา' ยสฺมนฺโต เทวนวุฒิ ปาจิตติยา ธมฺมา อุทเทส อาคจฺฉนฺติ. ๓๔๓. อุปชฌาโย เม ภนฺเต โหหิ. ๓๔๔. อห์ อาวุโส สมพหุลา ทุกฺกฎาโย อาปตฺติโย อาปนฺโน ตา ปฏิเทเสมิ. ๓๔๕. สกฺขสิ ปน ตัว คหปติ เอเกน ปสฺเสน สตฺต มาเส นิปชฺชิต ? สกโกม" ห์ อาจริย ๓๔๖. มยุห์ โข เทว ตาทิโส อาพาโธ; สาธุ เทโว ชีวก์ เวชช์
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More