การนิมนต์ภิกษุในธรรมานุเทศ อุภัยพากยปริวัตน์ ภาค 1-2 หน้า 25
หน้าที่ 25 / 58

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาในบทนี้กล่าวถึงการนิมนต์ภิกษุและการถวายอาหารในโอกาสต่างๆ ในวัด ทั้งในเหตุการณ์ของอุบาสิกา พ่อค้า และการนำเสนอธรรมะในบ้านของชาวบ้าน โดยมีเนื้อหาที่เกี่ยวข้องกับบาปและผลของการกระทำ นอกจากนี้ยังได้กล่าวถึงศัพท์บาลีที่เป็นที่มาของนิมนต์และการอาลปนะในบริบทของการเรียนรู้ทางพระพุทธศาสนา.

หัวข้อประเด็น

-นิมนต์ภิกษุ
-การถวายทาน
-ศัพท์บาลี
-ผลของการกระทำ
-ธรรมานุเทศ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๑ - อุภัยพากยปริวัตน์ ภาค ๑ - ๒ - หน้าที่ 23 ๓๓๖. อุบาสิกา ไปแล้ว สู่วัด นิมนต์แล้ว ซึ่งภิกษุ ท. ตระเตรียม แล้ว ซึ่งทาน, ครั้นเมื่อเธอ ท. มาแล้ว สู่เรือน แห่งตน นั่งแล้ว บนอาสนะ, ให้แล้ว ซึ่งโภชนะ ยังเธอ ท. ให้ ฉันแล้ว. ๓๓๗. พ่อค้า ท. ไปแล้ว สู่สมุทร ด้วยเรือ, ครั้นเมื่อเรือนั้น ถึง แล้ว ซึ่งท่า แห่งเมือง, ไปแล้ว สู่ฝั่ง แห่งเมืองนั้น ๓๓๔. ชน ท., ครั้นเมื่อฤดูฝน ถึงพร้อมแล้ว, นิมนต์แล้ว ซึ่งภิกษุ ท. ให้แสดง ซึ่งธรรม ในเรือน ของตน ของตน ๓๓๕. พระเถระ ท. ในกาลก่อน อยู่แล้ว สิ้นฤดูฝน ตลอดเดือน ท. ๓. ปวารณาแล้ว ย่อมเที่ยวไป สู่ที่จาริก ๓๔๐. คนพาล ทำแล้ว ซึ่งบาป, ครั้นเมื่อบาป หนาขึ้นแล้ว ย่อม ได้ ซึ่งผล แห่งมัน. ๑๔. ศัพท์เป็นอัพยยะ คือ นิบาตและปัจจัย บางเหล่า ไม่ ต้องแจกวิภัตติอย่างใดอย่างหนึ่ง เรียงลงตามรูปศัพท์เดิมดังนี้ : สเจ ปาปั น กเรยฺยาสิ, สุข อภิสสส. ถ้า เจ้า ไม่พึงทำ ซึ่งบาป, เจ้าจักได้ซึ่งสุข. ๑๕. นิบาตที่เป็นต้นข้อความ มักเรียงไว้เป็นศัพท์ที่ ๒ ในข้อ ความอันนั้น ดังนี้: กุห์ ปน ตว์ วสส. ก็ เจ้า อยู่ที่ไหน ? ๑๖. อาลปนะ ตามสำนวนบาลี เรียงไว้เป็นที่ ๒ ในข้อ ความอันนั้น ดังนี้ สงฺฆ์: ภนฺเต อุปสมฺปท์ ยาจามิ ข้าแต่ท่าน
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More