การแปลประโยคในมคธ อุภัยพากยปริวัตน์ ภาค 1-2 หน้า 35
หน้าที่ 35 / 58

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการแปลประโยคต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับคำสอนของพระพุทธเจ้าในเรื่องของการให้ทานและสำคัญของจิตใจที่ประณีตเมื่อทำบุญ ผ่านการสนทนาของอนาถปิณฑิกะและพระศาสดา ตลอดจนคำอธิบายเกี่ยวกับการแบ่งโภคทรัพย์

หัวข้อประเด็น

-การให้ทาน
-การแปลมคธ
-จิตใจที่ประณีต
-คำสอนของพระพุทธเจ้า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

นามา' ติ อาห. ประโยค๑ - อุภัยพากยปริวัตน์ ภาค ๑ - ๒ - ประโยคเหล่านี้ ผู้เรียนจงแปลเป็นมคธ - หน้าที่ 33 ๔๐๖. ในสมัยหนึ่ง พระผู้มีพระภาค ตรัสเรียกแล้ว ซึ่งภิกษุ ท. ประทานแล้ว ซึ่งโอวาท ว่า "แน่ะภิกษุ ท. ท่าน ท. เป็น ผู้รับมฤดูก ของเรา โดยธรรม เถิด, จง อย่า เป็นผู้รับมฤดูก ของเรา โดยอามิส เลย." ๔๐๓. ใคร ๆ ไม่ จึงดูหมิ่น ซึ่งบาป อย่างนี้ ว่า "บาป มีประมาณ น้อย อันเรา ทำแล้ว, เมื่อไร มัน จักให้ ซึ่งผล แก่เรา" ๔๐๘. วันหนึ่ง อนาถปิณฑิกะ คฤหบดี ไปแล้ว สู่สำนัก แห่งพระ ศาสดา เป็นผู้ อันท่าน ตรัสถามแล้ว ว่า "แน่ะคฤหบดี ก็ ทาน ในตระกูล อันท่าน ยังให้อยู่หรือ ? ทูลว่า "พระพุทธเจ้า ข้า ขอรับ, ก็แต่ว่า ข้าพระพุทธเจ้า ไม่อาจ เพื่อจะทำ ให้เป็นของประณีต." ๔๐๕. พระศาสดา เมื่อทรงแสดง แก่เขา ว่า "ทาน ไม่ ชื่อว่าประณีต ในเพราะไทยธรรม ประณีต" จึงตรัสแล้ว ว่า "แน่ะคฤหบดี เมื่อจิต เป็นของ ประณีต ทาน ที่ให้แล้ว ชื่อว่า เป็น ทาน เศร้าหมอง ไม่มี; เหตุนั้น ท่าน อย่า คิดแล้ว ว่า "ทาน ของเรา เศร้าหมอง." ๔๑๐. คนผู้อยู่ครอง ซึ่งเรือน จึงแบ่ง โภคะ โดยส่วน ท. ๔, พึง บริโภค ซึ่งส่วน อันหนึ่ง, พึงประกอบ ซึ่งการงาน ด้วย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More