บทเรียนจากอุภัยพากยปริวัตน์ อุภัยพากยปริวัตน์ ภาค 1-2 หน้า 18
หน้าที่ 18 / 58

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับคำสอนจากอุภัยพากยปริวัตน์ในบทที่ 1 ถึงบทที่ 2 โดยมีการนำเสนอคำสอนเกี่ยวกับชีวิตและทุกข์ในมุมมองของพระพุทธศาสนา รวมถึงครอบครัวและความสัมพันธ์ในสังคม เหมาะสำหรับผู้ศึกษาและเลือกใช้ในการเรียนการสอน

หัวข้อประเด็น

-คำสอนในพระพุทธศาสนา
-การดำรงชีวิต
-ความสำคัญของการไม่ประมาท
-การแปลเป็นมคธ
-ความสัมพันธ์ในครอบครัว

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ประโยค๑ - อุภัยพากยปริวัตน์ ภาค ๑ - ๒ - หน้าที่ 16 ๒๕๕. ยสม ภควติ พรหมจริย์ จราม, โส โน ภควา สตฺถา ๒๕๖. มนุสฺสานํ ชีวิต อปป์ โหติ ๒๕๓. สัพเพ สังขารา อนิจจา, เย อุปฺปชฺชนฺติ, เต นิรุชฺฌนฺติ ๒๕๘. สพฺเพส สตฺตานํ มรณ์ นิย ๒๕๔. สังโฆ อนุตตร์ โลกสฺส ปุญฺญสฺส เขตติ ๒๖๐. ปุญญานิ สตฺตานํ ปติฏฐา โหนติ ๒๖๑. ปมาโท มจฺจโน ปท. ๒๖๒. อย รุกโข อิมสฺมึ วเน สพฺเพ รุกเขหิ อุตตโม โหติ ๒๖๓. ย มาตุ ธน, ต์ ปุตฺตสฺส สนฺตก โหติ ๒๖๔. ราชา มนุสฺสานํ มุข. ๒๖๕. ภิกฺขุ ปญฺญวา โหติ ประโยคเหล่านี้ ผู้เรียนจงแปลเป็นมคธ ๒๖๖. บิดา เป็น ที่รัก ของเรา ท. ๒๖๗. หญิง สาว เป็น ที่ชอบใจ ของชายแก่ ๒๖๘. ข้าฯ เป็น ที่รัก ของมารดา ของข้าฯ. ๒๖๕. ความไม่ประมาท เป็นทางแห่งนิพพาน. ๒๗๐. ไฟ เป็น ปาก (ประธาน) ของยัญญ์ ๒๗๑. ความไม่มี แห่งโรค เป็นลาภ แห่งชน ท. ๒๓๒. กรุงเทพฯ เป็น เมือง มั่งคั่ง ๒๓๓. วัด ไกล จากบ้าน ท. เป็น ที่สบาย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More