ความเป็นมาและความลำบากของวัดพระธรรมกาย คุณยายอาจารย์ หน้า 172
หน้าที่ 172 / 232

สรุปเนื้อหา

ในบทความนี้พูดถึงความเป็นมาของวัดพระธรรมกายในช่วงเริ่มต้น รวมถึงการปลูกต้นกล้วยเพื่อสร้างสัญลักษณ์และการบำรุงรักษาอย่างมีจิตใจ นอกจากนี้ยังเล่าถึงความลำบากในการหาแหล่งน้ำดื่มเพื่อความอยู่รอดในช่วงปี พ.ศ. 2516 ซึ่งทุกคนที่มาอยู่ที่วัดต้องประสบกับความยากลำบาก แต่ก็ยังมีจิตใจที่เต็มไปด้วยความพยายามในการสร้างสังคมที่ดีขึ้นเช่นเดียวกัน

หัวข้อประเด็น

-การปลูกต้นกล้วย
-ความเหนื่อยยากในชีวิต
-วัดพระธรรมกาย
-คำสอนของคุณยาย
-การบริหารจัดการน้ำดื่ม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

"ยายปลูกทำไมเยอะเลย คงไม่ใช่เอาไว้ให้อาตมานะ" คุณยายฟังแล้วก็ตอบอย่างรู้ใจว่า "เอาไว้ให้นานเตะ ถ้โกรธเมื่อไร เตะมันให้บับไปเลยต้นกล้วยนะ แต่ด่าไปทำอะไรคนเขา เดี๋ยวจะเสียหาย" นับจากวันนั้น ท่านเห็นต้นกล้วยครัวใกล้ ก็จะนิ่งนั้นในคำพูดของคุณยาย ซึ่งแสดงถึงความเป็นผู้รู้ใจคนเจ้าโทสะอย่างท่าน หลังจากออกพรรษาในปี พ.ศ. ๒๕๑๖ พระภิญญูลูกศิษย์ของคุณยาย เฉพาะที่ทำหน้าที่ควบคุมการก่อสร้างวัด ก็ย้ายจากวัดปากน้ำ ภัยเจริญ มาอยู่ที่วัดพระธรรมกายเป็นการถาวร คุณยายจะเก็บพวกผลไม้หรือลงของแก่ของแต่ต่างๆ ที่ถอดโยนมา ถวายหลวงพ่ชมรมโโยที่บ้านธรรมประสิทธิ์ ฝากให้พระปลัดวันชัย สีลธนโณ ซึ่งขณะนั้นยังไม่ได้บวช เอาใส่ถาบากวายพระที่มาอยู่ที่วัดพระธรรมกายก่อน ในระยะแรกมีความเป็นอยูลำบากมาก ไม่มีน้ำดื่ม เพราะดินแทนั่นเป็นดินเปรี้ยน น้ำจึงเปรี้ยวไปด้วย กว่าจะได้น้ำดื่ม ต้องเอามาแกว่งสารส้มให้ตกตะกอน แล้วจึงเอาไปต้มอีกที่หนึ่ง พอเติมแล้วก็มีตกตะกอนคล้ายๆ วุ่นนอนกันเต็มไปหมด เวลารี้น้ำดื่มต้องค่อยๆ รีบอย่างมีสติ เพื่อไม่ให้ตะกอนติดลงมาด้วย แม้จะต้องลำบากเพียงใด แต่ทุกคนก็ทน เพราะไอ้นั่นเปี่ยมไป
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More