ข้อความต้นฉบับในหน้า
ข้อควรรู้
1. อย่าใช้กำลัง คือ ไม่ใช้กำลังใด ๆ ทั้งสิ้น เช่น ไม่มีบิกล้ามเนื้อตา เพื่อจะให้เห็นนิสิตเร็วก ๆ ไม่เกร็งแขน ไม่เกร็งกล้ามเนื้อหน้าท้อง ไม่เกร็งตัว ฯลฯ เพราะการใช้กำลังตรงส่วนใดของร่างกายก็ตาม จะทำให้จิตเคลื่อนไหวจากศูนย์กลางกายไปสู่จุดนั้น
2. อยากเห็น คือ ทำใจให้เป็นกลาง ประคองสติ มิโให้ผลออกจากบริการภาวนาและบริการนิมิต ส่วนจะเห็นนิสิตเมื่อได้นั้นอย่ากังวล ถึงเวลาแล้วถอยออกเอง การบังเกิดของดวงนิมิตนั้นอุปมาเสมือนการขึ้นและตกของดวงอาทิตย์ฯ เราไม่อาจเร่งเวลาได้
3. อย่ากังวลถึงการกำหนดลมหายใจเข้าออก เพราะการฝึกสมาธิเพื่อให้เข้าถึงพระธรรมกายภายใน อายุตามกินถึง "อโลกกลิ่น" คือ กลิ่นความสว่าง เป็นบทธัญ เมื่อฝึกสมาธิเข้าถึงดวงปฐมมรรตรแล้ว ฝึกสมาธิต่อไป ผ่านกายมนุษย์ละเอียดกายทิพย์ กายรูปพรหม กายอรูปพรหม จนกระทั่งเข้าถึงพระธรรมกายแล้ว จึงเจริญวิปัสสนาในภายหลัง ดังนั้น จึงไม่มีความจำเป็นต้องกำหนดลมหายใจเข้าออกแต่มาประกาย
4. เมื่อเลิกลจากนั่งสมาธิแล้ว ให้ตั้งใจไว้ที่ศูนย์กลางกายที่เดียว ไม่ว่าจะอยู่ในอริยาบถใดก็ตาม เช่น ยืน เดิน นอน