ความตายและอิทธิพลต่อชีวิต ป้าเข่ง นางสาวสี่แผ่นดินธรรม หน้า 37
หน้าที่ 37 / 209

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงอิทธิพลของความตายที่มีต่อชีวิตคนทุกคน ไม่มีใครสามารถหลีกหนีได้ แม้แต่ผู้ที่ร่ำรวยหรือทรงคุณธรรมต้องเผชิญหน้ากับความตาย พระพุทธองค์ได้ตรัสว่า ทุกชีวิตต้องเสื่อมสลาย และเราควรจะยอมรับในธรรมชาติของชีวิตที่จะต้องสละสังขารในที่สุด ความตายเป็นสิ่งที่ต้องยอมรับและไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้ สำหรับการสร้างบารมีนั้นคนเราจะต้องใช้โอกาสในชีวิตนี้ให้คุ้มค่าที่สุด เพื่อไม่ให้เสียเวลาในความเป็นอยู่ในโลกนี้.

หัวข้อประเด็น

-ความตาย
-อิทธิพลต่อชีวิต
-แนวคิดพระพุทธองค์
-การสร้างบารมี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

แต่ผู้ผลิตในการถวายประณตทานโดยความเคารพต่อกาล โดย พระภาวนาวิริยคุณ (หลวงพ่อทัตตชีโว) อันความตายนี้มีอิทธิพลยิ่งใหญ่นักต่อทุกๆ ชีวิต ไม่มีใครสามารถต้านทานหรือคัดสู้ด้วยวิธีใดๆ ได้เลย ความตายได้เข้าไปสู่ปราสาทแห่งมหัศจรรย์วิภาวะอย่างทรงปราศจากความละทิกสะท้านใดๆ ทั้งสิ้น เช่นเดียวกับการก้าวเข้าสู่เสน่ห์ของขอทานทมกลางเสียงคร่ำครวญของคนด้วยน้ำตานองหน้า ท่ามกลางสรรพวิทยากรอันก้าวหน้าทางการแพทย์ พญามังจุราช มหามฤทธิราชแห่งความตาย ผู้เป็นตุลาการใหญ่แห่งสัจจาวุธ ได้ยึดหัตถออรกระซากความหวังของทุกคนให้ขาดผลอยๆ ไม่เคยหยุดหยั้ง ใครๆ ในโลกนี้อยากอยู่ก็อยู่ไม่ได้ แม้โออยู่เป็นโจรใจบาปหยาบช้าเพื่อสนองหฤานรรษแห่งพญามารเองก็ยังอยู่ไม่ได้ แล้ววันประกาศอะไรกับนักรบแห่งกองทัพธรรมพันธุ์รัววัฏฎะ ซึ่งเป็นอิสรสำคัญแห่งมารโดยตรงเมื่อยังทำงานไม่เสร็จ มีหรือจะพ้นเมืองจุฬา เพื่ออยู่สร้างบารมีได้วานสมใจหมายทุกคนไป พระพุทธองค์เคยตรัสว่า "ไม่ว่าพลหรือบันฑิต ไม่ว่าขัตริย์พราหมณ์ แพศย ศุทธร หรือฉันทะ" ในที่สุดก็ต้องบ่ายหน้าไปสู่ความตาย เหมือนภาชนะไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ ในที่สุดก็ต้องแตกสายเหมือนกันหมด" ในที่สุด แม้พระพุทธองค์ ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐก็ต้องทรงสละสังขารที่ประกอบด้วยเลือดเนื้อ ส่อยตนทนพิษพานด้วยพระธรรมกาย ตามที่พระองค์เคยทรงพร่ำสอนมาตลอดพระชนม์ว่ ป่าเขา นางสาวผีแผ่นดินธรรม ๓๕
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More