การใช้ผ้าฝ้ายในพระวัดพระธรรมกาย ป้าเข่ง นางสาวสี่แผ่นดินธรรม หน้า 55
หน้าที่ 55 / 209

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการใช้ผ้าฝ้ายที่มีคุณภาพในการจัดเตรียมเสื้อผ้าสำหรับพระวัดพระธรรมกาย โดยมีการจัดให้แต่ละรูปได้รับผ้าฝ้ายที่เย็บอย่างประณีต ซึ่งช่วยให้พระท่านสามารถปฏิบัติธรรมได้อย่างเหมาะสมและเคารพในทุกโอกาส การพัฒนารูปแบบและเทคนิคการย้อมผ้าถิวยังช่วยเพิ่มคุณภาพในการใช้งาน นักเรียนได้มีโอกาสดูแลเสื้ออุบาสกด้วยความรัก และการช่วยเสริมสร้างบารมีที่วัดพระธรรมกาย

หัวข้อประเด็น

-การใช้ผ้าฝ้ายในงานพระ
-การจัดเตรียมอังสะพระ
-การเย็บผ้าและเทคนิคการย้อมสี
-การพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกสำหรับพระภิกษุ
-ประสบการณ์การดูแลครูบาอาจารย์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ผ้าฝ้าย และพระเดชพระคุณหลวงพ่อตั้มชโยโตท่านให้พระทุกรูปได้รับผ้าฝ้าย เรียงลำดับก่อนหลังตามพระธรรมหาดังนั้น พระวัดพระธรรมกายก็จะครองผ้าถิวที่ตัดเย็บและย้อมอย่างประณีตเหมือนๆ กันแม่พระที่บวงสรวงสันภาคฤดูร้อน หรือช่วงเข้าพรรษา ซึ่งมีจำนวนมากหลายร้อยรูป ก็จะได้ครองผ้าถิวที่มีกำกัดเย็บอย่างประณีต มีสีเหมือนกัน ต่างกันที่เนื้อผ้า ซึ่งจะเป็นผ้าที่ทรงต่อการซักถาดมากกว่า และเป็นการเย็บด้วยจักรเย็บผาทั้งหมด เพื่อความทนทานในการใช้งาน พี่เชิญและคุณยายก็ยังได้พยายามปรับปรุงรูปแบบ อังสะของพระ ให้พระท่านสามารถใช้ครองในขณะที่ทำงานภาคสนามได้อย่างสบาย ไม่หลุดร่วง รุ่งรัง เพราะวัดพระธรรมกายมีกิจกรรมงานก่อสร้าง งานภาคสนามที่จะต้องทำมากมาย คุณยายจึงอยากเห็นพระนั่งหมุนสงบ อังสะ อย่างเรียบร้อย เหมาะสม เป็นสมณะที่ควรแก่การเคารพกราบไหว้ในทุกโอกาส นอกจากนี้ยังได้มีการพัฒนาเทคนิคการย้อมผ้าถิวให้มีสีเปลวไฟ หรือสีเหมือนถ่านลูกปัดในเตา (เหมือนกับสีสิงคริรตรน) และพัฒนาคุณภาพของสีให้อยู่มิดทนผ้าหนานึ่งที่พี่เชิญภูมิใจมากอีกอย่างหนึ่งคือ ได้มีโอกาสใช้ความถนัดของตนเอง ดูแลรับใช้ครูบาอาจารย์คือ จัดหาและตัดเย็บเสื้ออุบาสกให้คุณยาย และเห็นคุณยายสวมใส่อย่างมีความสุขตั้งแต่นั่งธรรม ประสิทธิ์เรื่อมา พี่เชิญได้เข้ามาพักอาศัย ติดตามคุณยายและพระเดชพระคุณหลวงพ่อธัมมชโย มาสร้างบารมีที่วัดพระธรรมกาย ตั้งแต่ ปี พ.ศ. ๒๕๒๑ โดยได้รับอุปถัมภ์ดูแลเรื่องบ้านที่พักจากคุณครูมุนฌา-คุณ ป้าบุ่ง นางสาวสมัยเนินธรรม ๕๓
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More