ปังแข็ง...ผู้เป็นบุญให้หลานๆ ป้าเข่ง นางสาวสี่แผ่นดินธรรม หน้า 159
หน้าที่ 159 / 209

สรุปเนื้อหา

การไปวัดในครอบครัวหมายถึงการสร้างความทรงจำที่ดีร่วมกัน ตั้งแต่การออกจากบ้านแต่เช้า การทำบุญและกิจกรรมต่างๆ ภายในวัด ความสุขที่เกิดขึ้นจากการช่วยกันทำกิจกรรมร่วมเป็นสิ่งที่ยึดเหนี่ยวความสัมพันธ์ในครอบครัวและสังคม แม้เวลาจะผ่านไป วัดยังคงเป็นสถานที่สำคัญที่รวมความรู้สึกและความสุขไว้ให้กับทุกคนที่มาเยือน โดยเฉพาะในวันที่มีการทำบุญอุทิศให้ผู้ที่ทำคุณงามความดี

หัวข้อประเด็น

-การไปวัด
-ความสัมพันธ์ในครอบครัว
-การทำบุญ
-ความทรงจำ
-การอยู่ร่วมกันในสังคม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ปังแข็ง...ผู้เป็นบุญให้หลานๆ การไปวัด ในความหมายของครอบครัวเรา มีหลายภาพปรากฏขึ้นในความคิด ภาพแรกๆ เป็นวันอาทิตย์ต้นเดือน พาเราทุกคนทั้งพ่อ แม่ เราพี่น้อง 5 คน วัยใสเรียนตั้งแต่ 12, 11, 7, 4 และ 1 ขวบ ประมาณ 25 ปีที่แล้วออกจากบ้านก่อนฟ้าสว่าง เพื่อไปอุทิศสรัชสมภารภูมิขึ้นรถสันโฒ ขวบรถสันโฒบิบนิน พระสงฆ์ที่ดูดงอวัดอื่นๆ โบสส์สาขา ทรงเรียบง่ายเปล่าแตดาแดดจัดจ้า ผู้คนมากมายในชุดสีขาวกระจายอยู่ตามริมไร้ไม่ยืนไม่โดนกิจกรรมในโรงครัวทั้งเพื่อการถวายพระและเลี้ยงผู้ทำบุญ งานล้างจานชม นับร้อยพันใบที่เด็กๆ อย่างเรารู้สึกสนุกทุกครั้งที่ได้ช่วยทำ การไปวัดในอีกหลายปีต่อมา บริเวณในวัดมีร่มรื่น มีสิ่งก่อสร้างใหม่ๆ เกิดขึ้นเรื่อยๆ คนที่ทำบุญยังมากขึ้นอีกเป็นร้อยเท่า แต่ยังไม่เปลี่ยนคือภาพบ้านเล็กๆ ริมกำแพงดวัด ป้าเงา จักรเย็บผ้า และสีหน้ามีความสุขกับการทำงานที่อุทิศฝีมือด้ตเย็บสำหรับทุกฝีเย็บทุกตะเข็บ กินอยู่สบายง่าย ใบหน้ายิ้มแย้มกับผู้คนที่มาทำทาย ดูเหมือนป่าของเรานี้รู้จัก เป็นที่นับถือของใครต่อใครที่มาวัดนี้ นับจากนี้ ภาพในความทรงจำจากการไปวัดของพวกเราต้องเปลี่ยนไปจะมีภาพเหตุการณ์เพิ่มขึ้นอีกนึงในนั้นเป็นภาพของพวกเราและผู้นี้รู้จักบ้างไม่รู้จักบ้าง แต่มาคนร่วมทำบุญอุทิศแด่ ป้าเงา ผู้เดียว ของผลบุญนำนำให้บาเชื่อถึงความสัมพันธ์ทุกอย่างเทอญ ครอบครัวโกศลการแว่น ปังแข็ง นางสาวรีแผ่นดินธรรม ๑๙๕
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More