ข้อความต้นฉบับในหน้า
(ปาฏิ.) คำว่าอีกนันหนึ่ง คือ การเจริญพุทธานุสตินั้นไม่สามารถบรรลุมาถึงขั้นที่ ๑ ได้? ส่วนคัมภีร์ วิชชุติมรรฺ ก็ให้ข้อมูลแตกต่างกัน๑
เชิงอรรถ 8 (ต่อ)
วิชชุติมรรฺ (解脫道論)
如說修多羅混底匣句。若人欲念佛。其可恭敬如佛像處 (T32: 426c6-8)
According to the netti Sutta, if a man wishes to meditate on the Buddha, he should worship Buddha images and such other objects. (Ehara et al. 1961: 141)
Harrison (1992: 219) ก็แปลตามสำนวนด้านบน แต่เมื่อเปรียบเทียบกับ วิชชุติมรรฺ แล้ว ดูเหมือนการแปลประโยคนี้จะส่วนที่ดีเส้นใต้ ควรจะอ่านอย่างที่ Yamabe (1999: 132) แนะนำดังต่อไปนี้
...c’assa sarisam pi cetiyaagharaṁ iva pūjarahaṁ hoti…【可恭敬=
pūjarahaṁ (มีค่าควรแก่การบูชา)】 ซึ่ง=itra= iva (เปรียบเหมือน) 佛像處= cetiyaaghara (สถานที่ของพระพุทธรูป หรือ สถานที่ที่มีพระพุทธรูป
【ประดิษฐูฐานอยู่?】]
ดังนั้นควรจะแปลประโยคที่ดีเส้นใต้ใหม่ ดังนี้
若人々念佛. 其可恭敬如佛像
แปล: ถ้าได้ปารณา(เจริญ)พุทธานุสติ ผู้นั้นมีค่า ควรแก่การเคารพนบ, เป็นสถานที่ซึ่งพระพุทธรูปถูกประดิษฐูฐานไว้
ดูเพิ่มเติม Sasaki (1997b: 219)
buddhagunaṁānam pana gambhīratāya nānappakāragunānsanaraṇadhimuttatāya vā appaṇam appatyā, upacārappattam eva jhānam hoti (Vism: 212〖29-31〗).
彼坐禅人以此門也。已成彼觀念之如。其心成住。以信自在。以念自在。以信自在。若心不亂。破盡禪分起內行成住。問問故於佛 interne行之非叉。答師功德。於第一義深智行處。第一義事於深智行處。心不得安。以細微故。復次當念不一功德。若坐禅人憶念不一功德。心種種作行其起。心成不安。是相一切外行行度。問若念不一功德。心既不一。外行禪不成。若答念如來功德。及念佛成一心。是故無過。(T32: 428a17-27)
(ต่อหน้าดังไป)