ข้อความต้นฉบับในหน้า
พระสัมพุทธเจ้าผู้มีเครื่องเปิดอันเปิดแล้ว50 เป็นผู้ไม่มีตะปูที่ตรงครรษา51 เป็นผู้มีภูมิธรรม
50 Norman (1979) ได้กล่าวว่า vivattachadda เป็นคำที่มีพัฒนาการมาจากคำว่า vighuṣṭāsabda ใน Buddhist Hybrid Sanskrit (BHS) ดังนั้น การแปลครั้งแรกของ Norman จึงแปลว่า of widespread fame
von Hinüber (1981) มีความข้องใจต่อความคำนึงของ Norman ซึ่งคำนี้ควรจะมีความหมาย คือ "the who has removed the veil [of ignorance]" (vivattachadda (Skt. vivtacadhman) [von Hinüber ให้ชื่อสะกดคำว่า vivatta, vivata และ vivatta ว่า vivatta เป็นคำที่ใช้ในสายอริตคริสลิกา แต่คำว่า vivata ถูกใช้ในสายอริตพม่าสมัยใหม่) คำว่า -chaddo ควรจะมาจาก -chadda ซึ่งท่าน Aggvamsa ผู้รวบรวมศาสนา ให้ความเห็นว่า vivattachadda เป็น n-stem ในที่สุด Norman (1985), (2007) ได้ยอมรับข้อสรุปใน Norman (1979) ว่า มีข้อผิดพลาด เพราะไม่ได้ตรวจสอบคำนี้อย่างถี่ถ้วนในภาษาเพื่อความถูกต้อง คือ คำว่า vivattachauma และได้ยอมรับแนวทางการแปลตาม von Hinüber (1981) สุดท้าย ได้รูปใหม่อีกครั้งโดยตรงกันข้ามกับข้อสรุปใน Norman (1979) ว่า vighuṣṭāsabda ที่อยู่ใน BHS ควรจะพัฒนามาจาก vivattachadda ของบาลี และ vivattachadda ควรจะแปลว่า whose deceit has been removed
51 เมื่อพิจารณาทบทวนในประโยคด้านบนนี้ คืิอ pamūnccasu saddham และตัวอย่างการใช้ pāv'muc ผู้วิจัยนั้นเห็นจากว่า khila คงหมายถึงตะหรือหลักที่รั้ง "คริษ" ไว้ และมีเครื่องปิดบังหรือเครื่องมัง (=หลังคา) อีกนัย คำยกขึ้นก็คง "คริษ" อ้อยในที่คุ้มชั้น ในที่สุดอาจจะตรงตามความหมายตรงนี้ก็จะมีความสอดคล้องกับบริบทอ่านนี้เกี่ยวกับ การปลดปล่อยศรัทธาให้เป็นอิสระ หากอ้างอิงฐานของผู้วิจัยเป็นไปตามที่กล่าวไว้ข้างต้น อาศัยกล่าวว่า vivattacchaddo bilong sambuddho akhilo... ซึ่งเป็นคำอธิษฐานสมรวบ sambuddho และมีคำคุณศัพท์ทายาย sambuddho คือ vivattacchaddo, akhilo... แต่ต้องพิจารณาอย่างรอบคอบแล้วกล่าวข้างว่า ท่านเป็นอดิยกำลังผูกผูก ศักดิ์ของ "ตัวเอง" และการบรรลุ ของ "ตัวเอง" ได้อยู่ในขณะเดียวกัน ฉะนั้น sambuddho คำนี้ ควรหมายถึง sambuddho ที่ใจของท่านปิดฉายรวมเป็นหนึ่งในภายใสตามที่ได้กล่าวไว้ใน Sn 1142 และ Sn 1144 มีรูปลักษณะเนื้อของพระพุทธในฐานะเป็นบุคคลกลาง
(ต่อหน้าก็ดี)
"พุทธานุสติ" และ "การเห็นพระ" ศึกษาในอานิสงส์ของพระปัจเจกะ พระสิขตลากาเทีย พระภิกษ