การภาวนาและการเห็นธรรมในพุทธศาสนา “พุทธานุสติ” และ “การเห็นพระ”: ศึกษากรณีของ พระปิงคิยะ พระสิงคาลมาตาเถรี พระ วักกลิ หน้า 54
หน้าที่ 54 / 57

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาที่กล่าวถึงความหมายของการภาวนาในพุทธศาสนา โดยการระลึกถึงพระพุทธองค์เป็นหลักในกระบวนการเห็นธรรม ซึ่งคำว่า 'ธรรม' ในที่นี้นอกจากจะหมายถึงคำสอนแล้ว ยังรวมคำว่า 'พระพุทธองค์' ที่สามาถถูกเห็นได้ด้วยการปฏิบัติภาวนาที่ถูกต้อง การนำเสนอการสนทนาระหว่างพระพุทธองค์กับพระภิกษุเพื่อสืบค้นความหมายและความสำคัญของการละรูปและการดำเนินชีวิตตามคำสอนของพระองค์เพื่อเข้าถึงความรู้แจ้ง.

หัวข้อประเด็น

-การภาวนา
-การเห็นธรรม
-พุทธานุสติ
-พระพุทธองค์
-คำสอนของพระพุทธองค์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ภาวนาคือ พุทธานุสติแบบติ๊กระลึกถึง “พระพุทธองค์” ซึ่งพระพุทธองค์ไม่สามารถเป็นบุคลิษฐานหรือคำเปรียบเทียบได้ และการ “เห็น” ก็ไม่ใช่การเข้าใจ แต่เป็นการ “เห็น” พระพุทธองค์จริง ๆ อย่างที่ท่านปิงเคยและพระสิงลาดตระกูลกล่าวไว้ 2. คำว่า “เห็นธรรม” คำว่า “ธรรม” นั้นมีหลายความหมาย และหลากหลายการใช้ ในบริบทนี้คำว่า ข้างต้น มีแนวโน้มเข้าใจว่า คำว่า “ธรรม” หมายถึง “คำสอน” แต่เมื่อพิจารณาการสนทนาระหว่างพระพุทธองค์และพระภิกษุ คำว่า “ธรรม” ในบริบทนี้ควรจะหมายถึงพระพุทธองค์ ซึ่งดูเหมือนมีการแบ่งแยกระหว่าง **putikāya** และ “ธรรม” กล่าวคือ คำว่า **putikāya** คือรูปายที่เป็นบุคคลทางประวัติศาสตร์ที่เข้าถึงได้โดยการไปเฝ้และเห็นได้ด้วยตนเอง แต่คำว่า “ธรรม” คือ “พระพุทธองค์” สามารถถูก “เห็น” ได้ด้วยการปฏิบัติภาวนาที่ถูกต้องตามที่พระพุทธองค์ทรงให้การชี้แนะ 6.3.2 สาเหตุที่ถูกตำหนิ, การสรุปและการเห็นรูป คำสอนของพระพุทธองค์มีความไม่สราดคล้องกันหรือ? ถ้าพิจารณาจากข้อมูลแล้ว พระภิกษ์ท่านคงจะเอาแต่ดวงตามนุษย์ฝ้ายติดตามดูแต่รูปของพระพุทธองค์ที่เป็นบุคคลทางประวัติศาสตร์เพียงอย่างเดียว ไม่ได้คิดจะปฏิบัติภาวนา ถ้าเป็นเช่นนั้นบรรลุผลพวกจะไม่ได้เป็นแน่ กรณีของพระองค์ก็คล้ายกับพระภิกษ์ซึ่งยึดติดในรูป สามารถพิจารณาได้จากคำตอบของพระพุทธองค์ในการตอบคำถามต่อท่านปิงเคย คือ ตรัสสอนให้ท่านละรูปทั้งหลายเพียงแต่ในประเด็นนี้มีข้อสังเกต คือ หลังจากท่านปิงเคยบรรลุวิโมกข์พระอาจารย์ และได้เดินทางกลับไปหาพราหมณ์พรัว เมื่อได้พบกันจึงสนทนากล่าวถามเรื่องกัน จากบทสนทนาของท่านปิงเคยและพระมหาจินดาวาร เราบว่า ท่านปิงเคยยังตรึกระลึกถึงรูป คือ “พระพุทธองค์” อยู่ และด้วยวิธีเจริญภาวนาพุทธานุสติแบบติ๊ก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More