ข้อความต้นฉบับในหน้า
ปิงคิยะ [พระโคตมะ] พระองค์คือได้แสดงธรรม ที่สามารถเห็นได้ด้วยตนเอง ไม่มีภาก ดับตนหา ไม่มีอันตราย หากเปรียบในที่ไหน ๆ มีใดแก้เธอ26 เพราะเหตุไรหนอ เธอจงอยู่ปรากฏ(พระโคตมะ)พระองค์นั้น
________________________________
เชิงอรรถ 25 (ต่อ)
波闕波提=prajá-pati, 波拏那=varuṇa, 波數=bāspā เป็นต้น ซึ่งอาจจะเกิดจากการอ่านอักษรที่เขียนใกล้เคียงกันกว่าให้เกิดความสับสน หรือเป็นเสียงของท้องถิ่นต่างๆ มาทำให้เสียงมาตรฐานเปลี่ยนไป เป็นต้น และถ้าดูจากอักษรจริงจะงมออกได้มากกว่าเป็นเสียงสั้นหรือเสียงยาว
แต่ตอนที่เสียงอยู่ใน KBD ไม่ได้ระบุชื่อคนแปลในแต่ละวินัย ซึ่งถ้าผู้แต่งใน IAKBh II ในชื่อของพระปวรร จะพูดว่า ษ เป็นแค่เสียง pa, pā, pra เท่านั้น และผู้วิจัยสนใจนุวัตตัวอย่างใน KBD ของอักษร ษ ที่ตรงกับ IAKBh II ก็อาจข้อมูลสุดเดียวกัน เพราะว่าผู้ที่เป็นคนเดียวกัน คือ Prof. Hirakawa ยกขึ้นเพียงแต่คำว่า 波遮利 ซึ่งใน IAKBh II ยังคงรูปเดิม คือ ภาษาสันสกฤตที่อยู่ใน AKBh ที่กล่าวไว้ข้างต้น คือ Daridra และ Vādari ถ้าพิจารณาจากตัวอย่างการออกเสียงของฉบับพระปวรรใน AKBh ผู้วิจัยสนิฐานว่าเป็นไปได้ที่พระปวรร ได้ทำการออกเสียงฉบับ คำว่า Pāvari หรือ Pāvari เป็น 波遮利 มากกว่า Vakkali ที่ทั้ง Ejima และ Lee ได้แชนิฐานไว้
ฉะนั้น คำว่า 波遮利 ซึ่งออกเสียงโดยท่านพระปวรร ที่ทั้ง Ejima และ Lee สันนิฐานแบบบังคับว่าเป็นคำว่า Vakkali นั้น ผู้วิจัยคิดว่าสมโอกาสความเป็นไปได้น้อยมาก ด้วยเหตุผลที่กล่าวมาทั้งหมดข้างต้น
ประเด็นเรื่องเสียงสั้นยาวของชื่อพระนามผ่านวิธีท้ายด้วย i, ī และ variant reading อื่น ๆ ดูเพิ่มเติมที่ Sn; Pj; Mp I: 334 (เชิงอรรถ พาวาริโก) ; Th-a II: 73 (เชิงอรรถ พาวริยา)
ดูข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับ พรหมคาพรวี และท่านปิยคียะ ใน Abhidharmakosa- tikopāyika P118: 269c^5-270e5 (no.5595 Thu 128b-129b7); D no.4094 กับ 82b-83b2; Honjō (1983); Williams (1989: 217-218); Shaw (2006: 116-118); Lamotte (1988: 346-347, 699-700, 704)
26 yo ... dhamman adesesi sandiṭṭhikam akālikam taṇhakhkayām anītiikam yassa n’ atthi upamā kvaci. Sn 1137, 1139, 1141 สำหรับประโยค yassa n’ atthi upamā kvaci ก็มีใน Sn 1149
(ต่อหน้าถัดไป)
"พุทธานุกรม" และ "การนี้พระ" ศึกษากรณีของพระนัยดี พระโลเป็นฤษฏมิตร์ พระอิศวะ