ข้อความต้นฉบับในหน้า
พระโคดม ผู้มีปัญญาประดุจแผ่นดิน พระโคดม ผู้มีความรู้ประดุจ
แผ่นดิน แม้เพียงเวลาชั่วครู่ล่ะ
nahāma tamhā vippavasāmi muhuttam api brāhmaṇa
Gotamā bhūripaññāṇa Gotamā bhūrimedhasa. (Sn 1140)
yo me dhamma adesesi sanditthikam akālikam taṁhakkhayam
anītikaṁ yassa n’ atthi upamaṁ kvaci. (Sn 1141)
[ปิงคิยะกล่าวว่า]
ท่านพราหมณ์ [พระโคดมพระองค์ใดได้แสดงธรรม ที่สามารถเห็นได้
ด้วยตนเอง ไม่นึกหา,ดับดับนาที,ไม่มือนตาย หาทิเปรียบในที่ไหน ๆ
มิได้แก้ข้าพเจ้า ข้าพเจ้าไม่ได้หางจาก[พระโคดม]พระองค์นั้น
พระโคดมผู้มีปัญญาประดุจแผ่นดิน พระโคดมผู้มีความรู้ประดุจ
แผ่นดิน แม้เพียงเวลาชั่วครู่]
เชิงอรรถ 26 (ต่อ)
คำว่า yassa ใน yassa n’ atthi upamaṁ kvaci มีคำแปลการแปล ดังนี้
1. แปลว่า พระพุทธเจ้า เช่น Nakamura (2000); Murakami et al. (1989)
2. แปลว่า คำสอน Norman (2006); Shaw (2006) 3. แปลว่า “ธรรมใด” ในบท มจร
ใน PV ไม่ได้กล่าวอภิปรายคำว่า yassa ไว้ แต่ใน Nidd II ได้อภิปรายคำว่า yassa
ว่าเป็น นิพพาน Se: yassāti nibbaṇassa (อุจฺ.จู. 30/613/298¹²)
• จุดที่น่าสนใจ
ถ้าพิจารณาโดยภาพรวมที่ Nidd II อธิบายคำว่า dhamma ในบท นี้ อาจแบ่ง
ได้เป็น 2 ประเภท
1. “dhamma” ที่เป็นทางไปสู่พระนิพพาน ได้แก่ sanditthikam, akālikam
ที่เป็นคำขยายคำว่า dhamma
2. “dhamma” คือ นิพพาน ได้แก่ คำว่า taṁhakkhayam anītikaṁ
(Se:.…amataṁ nibbaṇanti taṁhakkhayam อนิติ neighboring
“พุทธานุศาสตร์” และ “การเห็นพระ” ศึกษาระนิธของ
พระโคดม: พระอิสิฏิลามหลาเืทย พระอิสิฏิลามหลาเืทย