ข้อความต้นฉบับในหน้า
ฎำรา 36 ตลอดเวลา
เพราะว่า ใจของข้าท่านรวมเป็นหนึ่งเดียวกับพระองค์ ๓ ৭
เชิงอรรถ 35 ( ต่อ )
ถูกเครื่องหมุนคือกรรมให้หมุนไป จึงหมุนไปอย่างนี้ ( ขุ.เถร ๑๘/๗๕๔/๔๓๙ แปลมจร )
มมธ: หมุนไปอยู่ด้วยเครื่องหมุน คือ กรรม... ( ขุ.เถร ๕๒/๓๗๔/๓๘๓ แปลมมธ ๒๕๓๖ )
เพียงแต่ในกระนี้ไม่สอดคล้องกับอรรถาถาอธิษฐานที่ให้ความหมายเท่ากับคำว่า
gamana (การไป)
ถ้าพิจารณาความหมายจากอรรถถาอธิษฐานและวิเคราะห์ของ Norman ผู้วิจัยคิดว่า
yatta ที่มีความหมายเท่ากับ ยตฺรา "journey" ตามที่ Norman เสนอแนะจะควรจะเป็น
ตัวเลือกที่เหมาะสมสำหรับในคำถามนี้ ยิ่งไปกว่านั้น ถ้าคว่า yatta เป็นคำที่ถูกต้อง
จริงอย่างที่ตั้งสมมุติฐาน ผู้จะสนิทสนมฐานว่า คำว่า yanta ของทางพม่าและไทย อาจ
จะเปลี่ยนรูปจากคำว่า yatta เนื่องจากความใกล้เคียงกันของอักษรสิ่งหล่นที่เป็น
พยัญชนะ т และ n ซึ่งอาจจะทำให้เกิดความคลาดเคลื่อนในการจารึกต่อกันมา
ถึงแม้จะใช้คำว่า samkappa ใน Sn 1144 ที่บังกล่าว ความดำริ ความตรึก แต่ใน
Nidd II ได้อธิบายไว้ใน Sn 1142 ว่า การปฏิบัติแบบนี้ คือ การเจริญ “พนานสติ”
( ขุ. 30/628/302 12-13) คำศัพท์ samkappa และ anussati แม้จะแตกต่างกัน แต่ก็
เหมือนจะไม่มีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญในการปฏิบัติ ประเด็นที่ลงเหลือ คือ
เราไม่ทราบแน่ชัดว่าหรรมกถาอธิษฐานที่กล่าวรึสลิกว่า “คุณ” ของพระพุทธองค์ หรือ
“พระพุทธองค์” หรือว่า ทั่งสองนัย
อันเนื่องจากเปลี่ยนตั้งแต่บนี้
1. มมธ. 2537 : เพราะว่าใจของอาณามัยประกอบแล้วด้วยพระพุทธเจ้านั้น ( ขุส. 47/443/787 แปล มมธ. 2537 )
2. มมธ. 2552 : becauseใจของอาณามัยประกอบแล้ว ด้วยสถานที่พระพุทธเจ้า
ประทับอยู่นัน ( ขุส. 47/443/787 แปล มมธ. 2552 )
3. มจร : becauseใจของอาณามัยเกลี้ยงเกลาอยู่แล้วกับดวงนี้ที่พระผู้มีพระภาค
ประทับอยู่นัน ( ขุส. 25/1151/779 แปล มจร )
4. Norman (2006: 138): for my mind, brahman, is joined to him.
5. Shaw (2006: 118): for my mind, brahmin, is joined to him.
6. Nakamura (2000: 240): わたくしのしのし、 かれと結びついているのです .
7. Murakami et al. (1989: 165): 私の意は、 パラエト その方とむすばれているのです
(ต่อหน้าทิ้งไป)
“พุทธสนต์” และ “การทำนิพพาน” ศึกษากรณีของพระปิยะ
พระปิยะ พระสิกขม ตะเกี พระภิกษ
222 ธรรมธารา วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา