การวิเคราะห์คำในพระรัตนตรปทานและพระสิงคาลมตกาแรปน “พุทธานุสติ” และ “การเห็นพระ”: ศึกษากรณีของ พระปิงคิยะ พระสิงคาลมาตาเถรี พระ วักกลิ หน้า 37
หน้าที่ 37 / 57

สรุปเนื้อหา

บทความนี้วิเคราะห์คำว่า 'sabbasubhākiṇṇaṃ' และความแตกต่างระหว่างการแปลในพระรัตนตรปทานและพระสิงคาลมตกาแรปน โดยเน้นที่ความงามทั่วไปในคำศัพท์ต่าง ๆ ที่อ้างถึงในอรรถกถา การแปลของมจรในปีต่าง ๆ พบว่ามีแนวโน้มเหมือนกันแต่ต่างกันในรายละเอียด ซึ่งส่งผลต่อการเข้าใจและตีความในวรรณกรรมทางศาสนา

หัวข้อประเด็น

-การแปลพระรัตนตรปทาน
-การวิเคราะห์คำศัพท์
-พระสิงคาลมตกาแรปน
-ความหมายของ 'sabbasubhākiṇṇaṃ'
-อรรถกถาในพระพุทธศาสนา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

เฮอรรถ 67 (ต่อ) param puññasambhārajja uttamanīla-akkhivantaṃ sabbasubhākiṇṇaṃ sabbeṇa subhena vaṇṇena saṅṭhānena "ækiṇṇam" gahaniṃ 4954-6). nilakkinayaṇaṃ varaṃ puññasambhāraṃ uttamanīla-akkhivantaṃ. sabbasubhākiṇṇaṃ sabbeṇa subhena vaṇṇena saṅṭhānena "ækiṇṇam" gahāñi bhūtaṃ (ข.อบ.๒ 2/2692-3 เมตร). ประเด็นที่น่าสนใจคือ จะเปล sabbasubhākkiṇṇam ว่าอย่างไร คำนั้นอยู่ใน พระรัตนตรปทึ่งคำพูดที่คล้ายกับพระสิงคาลมตกแตร์ แต่การเปลคํานั้นในทัง สองที่ กล่าวคือ พระรัตนตรปทั่นและพระสิงคาลมตกแรปนในฉบับไทยแปล ไม่เหมือนกัน sabbasubhākiṇṇaṃ ที่อยู่ในพระรัตนตรปทาน มจร: มีผิวพรรณสีผิวชมพูงาม (ข.อบ. 33/52/244 แปล.เมจร) มจร.2537: เขลื่อนกลิ่นไปด้วยอรรถสัญลักษณ์เนืองเดิม (ข.อบ. 72/122/222 แปล.มจร.2537) มจร.2555: มีความงามพร้อมทุกอย่าง (ข.อบ. 72/122/230 แปล.มจร.2555) sabbasubhākiṇṇaṃ ที่อยู่ในพระสิงคาลมตกแรปน มจร: พรั่งพร้อมด้วยความงามทุกอย่าง (ข.อบ. 33/103/533 แปล.มจร) มจร.2537: มีพระลักษณะงามทั่วไป (ข.อบ. 72/174/680 แปล.มจร.2537; ในฉบับ แปล.มจร.2555 ก็แปลเหมือนกันฉบับแปล มจร.2537) ผู้วิจัยสันนิษฐานว่า อรรถกถาได้อธิบายความเฉพาะส่วนของพระรัตนตรปทาน เท่านั้น จึงทำให้การแปลพระรัตนตรปทานเป็นดังที่เห็นข้างต้น แต่ในส่วนของ พระสิงคาลมตกาแรปนได้มีการอธิบายอยู่ในอรรถกถา ดังนั้นจึงทำให้การแปลอยู่ ในรูปแบบที่ไม่มีการพิจารณอรรถกถา คำว่า ækiṇṇam ใน sabbasubhākiṇṇaṃ = "มีลักษณะงามทั่วไป" ของ มจร ที่ไม่มีอรรถอาอธิบายในคาถาของพระสิงคาลมตกาแรปนั่น ผู้วิจัยสันนิษฐานว่า มาจาก a+kiṇṇam[-ta ปิยั] (pp.) ของ kirati /ki:r/ ซึ่งคำอุปสราะ ในที่นี้อาจจะ แปลว่า ทั่วไป จากการแปลนี้ทำให้ผู้วิเคราะห์ใส่คำว่า subhakkiṇa (subha-kiṇṇa) หรือ subhakinha ที่เป็นชื่อ “รูปพรรษ” ซึ่งในฉบับ 9 ซึ่งในฉบับนาดามา มจร-ไทย ที่ รวบรวมโดย พันตรี ป.หลวงสมญา ให้ความหมายคำว่า subhakinha ว่า “ผู้มีรัศมี สวยงามตลอดทั่วไปทั้งร่างกาย” ตรงกับคำศัพท์ในภาษาบาลีภาษาสันสกฤต คือ subhakṛtsna (尊淳) ซึ่งคำว่า kṛtsna ตรงกับคำว่า kasina ในบาลีที่แปลว่า ทั้งหมด ทั้งสิ้น ล้วนกัน (ต่อหน้าถัดไป)
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More