ข้อความต้นฉบับในหน้า
เกี่ยวกับคำศัพท์ที่สามารถศึกษาได้จาก Fujita (1992) และ Murakami et al. (1989)
Sakurabe (1975) ได้รวบรวมความหมายของคำว่า adhimutki (ไพฬ: adhimutti, Chi: 信解) ผู้วิจัยขอสรุปและเรียบเรียงความหมายที่ Sakurabe รวมไว้ดังต่อไปนี้
1. มีความหมายว่า มีความมุ่งมั่นต่อสิ่ง ๆ หนึ่ง หรือมีความรักปรารถนา ต่อสิ่ง ๆ หนึ่งอย่างแรงกล้า
2. มีความหมายว่า ไม่มีความกังขา, มีความตั้งมั่น
3. มีความหมายเท่ากับ ลูดพัน (Skt: vimukti, พา: vimutti)
4. มีความหมายเท่ากับ การหลุดพ้นอย่างยิ่ง adhimutki = adhikā vimuktiḥ
Fujita (1992) ได้ยกตัวอย่างการใช่ที่สนใจจากพระสูตร มีความหมายคล้ายกับความหมายที่ 2 คือ
ทัฬหากถา สัดตะ นิวัตถะ โติ มูลจาตะ ปฏิฐิท่า
tathāgate saddhā nivitta hōti mulajāta pattiṭṭhita14
แปล: ศรัทธาที่ตั้งมั่นแล้ว มีรถาที่เกิดแล้ว ต้องอยู่ในพระตกาต
ถ้าพิจารณาจากพระวักกลิ พระปิงคิยะ และพระสิละมตเตรซึ่งจะกล่าวในลำดับต่อไปนั้น จะทราบว่า ท่านเหล่านี้เป็นผู้มีความศรัทธาอย่างแรงกล้าต่อพระพุทธองค์ ด้วยผลจากการค้นคว้าทั้งทางด้านความหมายของคำ และลักษณะนิสัยที่โดดเด่นของพระเถระและพระเฏรในสายศรัทธิธมุตตะนี้ ทำให้ผู้วิจัยประจักษ์ว่า “ศรัทธาธมุตตะ” หมายถึง ผู้มั่นในศรัทธาในสิ่งต่อพระพุทธองค์