ข้อความต้นฉบับในหน้า
ซิงอรรถ 67 ( ต่อ)
von Hinüber (2001) ได้ศึกษาพัฒนาการศัพท์ในตระกูล Middle Indo Aryan (MIA) เช่น ภาษาอามา เป็นต้น และนำมาเปรียบเทียบกับศัพท์ในภาษาสันสกฤตได้สันนิษฐานว่า "kr̥tsna" มีพัฒนาการ ดังนี้
Skt. kr̥tsna: kṛṭ-sna > * kr̥ṣ-sna (>ผู้วิจัย kr̥ṣna) > MIA: kasiṇa
คำว่า kr̥ṣṇa ในภาษาสันสกฤต มีความหมายว่า "ดำ" ตรงกับคำว่า kasiṇa ในภาษาบาลี และ saurasenī (ส.) หรือคำว่า kasṇa(s.) และ kinha ในภาษาบาลี (Ee: kinha ti kaṇha. Sv I: 254^24)
เราจะเห็นว่า คำในตระกูล MIA kasiṇa, kinha, kaṇha ตรงกับคำว่า "kr̥tsna" ทั้งหมด ทั้งสิ้น ก็ได้ "kr̥ṣṇa=d” ก็ได้ ในภาษาสันสกฤต จะแตกต่างนี้นิค คำศัพท์เหล่านี้จะเป็นคำในภาษาพ้อง แต่มีความหมายแตกต่างกัน
ในบางกรณีความแตกต่างของเสียงสั้นและเสียงยาวในคำจะเพียงแค่ให้สอดคล้องกับฉันทลักษณ์ แต่บางครั้งก็ทำให้ความหมายของคำมีความแตกต่างออกไป เช่น ในกรณีนี้ คือ subhākiṇṇa และ subhakiṇṇa แต่ในที่นี้คำว่า sabbasubhākiṇṇam ในคำของพระสิงหลมาเทียบเท่า ผู้วิจัยสันนิษฐานว่าจาก a+kiṇṇam [ta ปัจฉิม (pp.) ของ kirati \vir] ดังนั้น จึงขอใช้คำแปลของผู้วิจัย มจร เป็นแบบแผนในการแปลคำในพระพิสดารมาเทียบเทียบทัน
มจร: หมอนันชไม่บ่พระสุรุไพ ก็จากเขา เป็นที่อยู่คั้คแห่งสิริ ประเสริฐรุ่งโรจน์ พร้อมด้วยความงามทุกอย่าง (ฆอป. 33/103/533 แปลมจร)
มมร.2537: ดินฉันได้เห็นพระพุทธเจ้าเข้ารับไป มิได้ฉัน ชมพระรูปลักษณ์เป็นเพลินตา เป็นพระอุปโหราหมณ์พระสมงกัมพล ย่อมเกิดแต่พระมาริทั้งปวง เป็นดังร่วงหลงที่ประกอบด้วยสิริ มีพระลักษณะงามทั่วไป (ฆอป. 72/174/680 แปลมจร.2537)
มมร.2555: หมอนันชไม่บ่พระรูปที่เกิดแต่พระรามทั้งปวง เป็นที่อยู่คั้คแห่งสิริ อันประเสริฐ มีพระลักษณะงามทั่วไป (ฆอป. 72/174/619 แปลมมร.2555)
จากข้อมูล การแปลของฉบับ มมร.2537 คำยกนำ Ap II 34.22 มารวมกับ Ap II 34.23 ส่วนฉบับแปล มมร.2555 และฉบับแปล มจร มีจำนวนการแปลไปในทิศทางเดียวกัน
"พุทธานุกรม" และ "การันตีพระ" ศึกษาการอภินิหารของพระรินทร์ พระอวโลกิเตศวร พระกัสสิมะ