ข้อความต้นฉบับในหน้า
วิสุทธิมรรค จันโดย
พระพุทธโมลาสาจารย์4 ซึ่งท่านได้นำการปฏิบัติมัจฉิในกามวิภัทรไล่ ในการฝึกสมาธิ โดยกล่าวไว้เพียงนัยเดียวคือ การရึกถึง “พระพุทธคุณ”
แต่ด้านหนึ่งใน ขุกทุกนิยาย ซึ่งอยู่ในพระสุตตันติปกอ่เท็นก็มีการ เจริญภาวนา “พุทธานุสติ” อีกรูปแบบหนึ่งซึ่งเป็นการรำลึกถึง “พระพุทธองค์” และด้วยการปฏิบัติแบบนี้สามารถไป “เห็น” พระพุทธองค์ในสมาธิ ใบตามความนี้ ผู้วิจจะขอศึกษาโดยมุ่งประเด็นไปที่การเจริญภาวนา “พุทธานุสติ” แบบตามตรรกะ ระลึกถึง “พระพุทธองค์” พร้อมนำเสนอกรณีของผู้ปฏิบัติภาวนาในรูปแบบนี้
2. “พุทธานุสติ” ตามนัยของคัมภีร์วิสุทธิมรรค
การปฏิบัติ “พุทธานุสติ” ตามนัยของ วิสุทธิมรรค คือ การรึกถึง “คุณ” ของ พระสัมมาสัมพุทธเจ้า ในปัจจุบันจะอยู่ในนิวาสของมนต์เป็นบทรลึกถึงพระพุทธคุณ กล่าวคือ
iti pi so bhagavā arahàm sammāsambuddho vijjäcaranasampanno
sugato lokavidū anuttaro purisadhammasāraṭhi satthā
devamanussānaṁ buddho bhagavā ti.
––––––––––––––––––––––––––––
เชิงอรรถ 3 (ต่อ)
อันนี้ใน Iwanami-bukkyo-iten 岩波仏教典 (พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับ อิวานามิ) เรียกว่า 「มาแล้ว7号 ซึ่งแบ่งพรรคเป็น 10 ประโยค โดยท่านพุทธศาสนา ฝ่ายเหนือได้รับมานับของ (8), (9) เข้าด้วยกัน (Iwanami 1989: 642L) ผู้วิจัยมีความชอบเป็นส่วนตัวในการใช้คำของพระมหาบัณฑิต (2ระยุร ธรรมมิตโต) ใันที่ จึงขอให้ว่าว่า พระพุทธโฆษาจารย์ ซึ่งเป็นการเขียนแบบภาษาบาลี ไม่ใช่พระพุทธโฆษาจารย์ ซึ่งเป็นการเขียนของภาษาสันสกฤต
* “พุทธานุสติ” และ “การนึกพระ” ศึกษากรณีของ พระนิพนธ์ พระศิลปอเนกเดีย พระกัลย