การเจริญภาวนาและการรับรู้พระพุทธเจ้า “พุทธานุสติ” และ “การเห็นพระ”: ศึกษากรณีของ พระปิงคิยะ พระสิงคาลมาตาเถรี พระ วักกลิ หน้า 23
หน้าที่ 23 / 57

สรุปเนื้อหา

เนื้อหาเกี่ยวกับการเจริญภาวนาและการรับรู้พระพุทธเจ้า โดยมีการแบ่งกลุ่มใจระหว่างความรู้สึกที่มีต่อพระพุทธเจ้ากับสถานที่ที่พระองค์อาศัยอยู่ การวิเคราะห์เนื้อหาใน Sn 1142 และ Nidd II ว่าเป็นการเจริญภาวนาพุทธานุสติ และมุ่งเน้นไปที่พระพุทธเจ้ามากกว่าสถานที่ ที่นำไปสู่การเข้าใจในลักษณะใหม่ของการปฏิบัติ และความเชื่อมโยงระหว่างสถานที่และจิตใจของผู้ปฏิบัติทางพระพุทธศาสนา.

หัวข้อประเด็น

- การเจริญภาวนา
- คำแปล Sn 1142
- วรรณกรรมพระพุทธศาสนา
- การรับรู้พระพุทธเจ้า
- การวิเคราะห์ทางจิตใจ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

pamké 38 saṅyaṇō pārihpāndamāno dipā dipam upalavim ath' addasāsim sambuddhaṁ oghatiināmaṁ anāsavam. (Sn 1145) ในขณะนี้ฉันไปยังรอบพร้อมทั้งอ๋อคย์39 อยู่ในโคลนตม ข้าพเจ้าได้ลอยจากเกาะหนึ่ง เข้าไปใกล้เกาะหนึ่ง เชิงอรรถ 37 (ต่อ) จากจำนวนการเปล่าข้างต้น สามารถแบ่งได้ 2 กลุ่ม ดังนี้ 1. ใจประกอบด้วยพระพุทธเจ้า ได้แก่ม.2537, Norman, Shaw, Nakamura, Murakami 2. ใจประกอบด้วยสถานที่พระพุทธเจ้าประมาณอยู่ได้แก่ม.2552, มจร คำแปลกลุ่มที่ 2 ที่แปลว่า สถานที่พระพุทธเจ้าประมาณอยู่ ผู้วิจัยสนิทฐานว่าอ้างอิงมาจากอรรคธกา Ee: tena yuto ti, yena buddho tena yutto payutto anuyutto ti dasseti (Pj II: 60610-11). เส...tena yutto ti mano mama yena buddho tena yutto... (ฉ.จ. 30/638/3057) แต่เมื่อพิจารณาจากเนื้อความ Sn 1142 "ເຫັນພຣະອົງຄົນທົ່ວໄປ" ด้วยใจเหมือนเห็นพระองค์ท่านด้วยตา ไม่มีความประมาณทั้งกลางวันและกลางคืน นอนน้อมพระองค์อยู่ตลอดอตรา ตรี อีกทั้ง Nidd II เอง ก็จงว่าเป็นการเจริญภาวนาพุทธานุสติ จะนั่น เป้าหมายที่มุ่งตรงของใจของผู้ปฏิบัติ คือ พระพุทธเจ้า มากกว่าสถานที่ เมื่อเป็นเช่นนั้นการเปล่าม mano hi me brāhmana tena yutto ผู้ง่วงจึงเห็นด้วยกับคำแปลกลุ่มที่ 1 ที่แปลออกมาในลักษณะที่ว่า ใจประกอบด้วยพระพุทธเจ้ามากกว่าการแปลในลักษณะที่ว่า ใจประกอบด้วยสถานที่พระพุทธเจ้าประมาณอยู่ Ee: pamke: Be, Se: paṅke 39 Nidd II Se: paṅge.sayāno.ti... semāño ayasemāno.parisemānō (ฉ.จ. 30/640/3057 17-19); Be: paṅge.sayāno.ti... semāño.sayamāno.Vāsamāno.parisamāno (Nidd II: 2211-4). ใน Nidd II ของฉบับ Se ให้คำอธิบาย semāno ayasemāno parisemāno ทั้งหมดมาจากกตัญญุตเดี่ยวกัน คือ Vsi (Skt.V sī) แปลว่า เอน นอน แต่ฉบับ Be อธิบายแบ่งเป็น ตฤฎ, 2 ตำ สิก (Skt.V sī); vas ซึ่งในฉบับแปลของ มจร ได้แปลเหมือนกันฉบับ Be
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More