การหลุดพ้นจากวัฏจักรของการเกิดและแก่ คาถาธรรมบท ภาค ๗-๘ หน้า 66
หน้าที่ 66 / 112

สรุปเนื้อหา

บทความนี้กล่าวถึงการหลุดพ้นจากภพด้วยการตัดสังโยชน์และการไม่เข้าถึงชาติและชราอีก โดยเน้นถึงความสำคัญของการปล่อยวางอาลัยในทุกภพ เพื่อนำไปสู่ความเป็นพราหมณ์ที่มีใจหลุดพ้นในธรรม.

หัวข้อประเด็น

-การหลุดพ้นจากชาติและชรา
-การตัดสังโยชน์
-ความหมายของพราหมณ์
-การปล่อยอาลัยในทุกภพ

ข้อความต้นฉบับในหน้า

๑๔๐ มุญฺจ ปุเร มุญฺจ ปจฺฉโต มชเฌ มุญฺจ ภวสฺส ปาร สพฺพตฺถ วิมุตฺตมานโส น ปุน ชาติชร์ อุเปหิสีติ ท่านจงเปลื้อง (อาลัย) ในกาลก่อนเสีย จงเปลื้อง (อาลัย) ข้างหลังเสีย จงเปลื้อง (อาลัย) ใน ท่ามกลางเสีย จึงเป็นผู้ถึงฝั่งแห่งภพ มีใจหลุดพ้น ในธรรมทั้งปวง จะไม่เข้าถึงชาติและชราอีก สพฺพส์โยชน์ เฉตวา โย เว น ปริตสฺสติ สงฺคาติค์ วิสํยุตฺต์ ตมห์ พฺรูมิ พฺราหฺมณนฺติ ชนใดแล ตัดสังโยชน์ทั้งปวงได้แล้ว ย่อมไม่สะดุ้ง เราย่อมเรียกบุคคลนั้น ผู้ล่วงกิเลสเป็นเหตุของไป แล้ว ผู้ปราศจากสังโยชน์ ว่าเป็นพราหมณ์. เรื่องจูฬธนคคหบัณฑิต สพฺพ ภัณฑ์ สมาทาย ปาร์ ติณฺโณ พฺราหฺมณ ปาจาคจฉ ลหุ ขิปป์ มีปิ ตาเรหิทานิ โภ
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More