ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมหาระ
วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 9) 2562
1. บทนำ
"ชาดก" นั้นเป็นเนื้อหาส่วนหนึ่งที่มีความเก่าแก่ ได้รับการจัดไว้เป็นหมวดหนึ่งในวรรณคดีศาสนา (คำสอนของพระศาสดามีองค์ 9) นิทานเผาวาได้รับรวมเนื้อหาชาดกเฉพาะส่วนที่เป็นคำถามจัดเก็บไว้ในพระไตรปิฎกบาลี คือ "ทุทกนกาย ชาดก" สำหรับเนื้อเรื่องโดยละเอียดได้ถูกจัดเก็บไว้ในนั้นอรรถกถา (บางเรื่องยังปรากฏในคัมภีร์จิยาปิฎก และคัมภีร์เล่มอื่นๆบ้าง) ส่วนนิยายหินายนฝ่ายเหนือลั่น
_______
1 บางนิยาย เช่น สรวาสติวา ได้จำแนกเป็นคำสอนมือองค์ 12 ( dvādasānga-buddha-vacana + 二分教 ) โดยเพิ่มเติมเข้ามา 3 หมวด คือ นิทาน (nidāna 因緣) อวตาน (avādaṇa/apadāṇa 識喩) และอุปเทศ (upadesa 論議) ดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน ประพระณี คัมภีร์พิพากษา (2534: 166-170) นอกจากนั้น คัมภีร์หมวด "อวทนา" ยังได้บรรจุเรื่องเล่าดาดไว้ด้วย เล่มที่ค่อนข้างเก่าแก่ เช่น
(1) "มหาวัสดอวาท" ดูเปรียบเทียบเนื้อเรื่องชาดกในคัมภีร์นี้กับฝ่ายบาลีได้ใน รื่นฤทัย สัจจะพันธุ์ (2553)
(2) "อวทานสตกะ" ดูรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับคัมภีร์นี้ได้ใน สาโรจน์ บัณฑุวงาม (2556)
(3) "ทิวายาวนาน" ดูรายละเอียดเพิ่มเติมเกี่ยวกับคัมภีร์นี้ได้ใน ปัทมานาฎวรรณ (2556)
สำหรับคัมภีร์สัณฑกฤก็คลอดหมวดชาดกโดยเฉพาะ (ที่พบในปัจจุบัน) ได้แก่ "ชาดกมาลาองค์อารยครู" ดูซึ่งที่ได้ในอารยสุรา (1895: xxvii-xxviii) และ "ชาดกมาลาของหิรัภุ่ง" คุสุมาที่แต่งได้ใน Hawn (2007: 8) เป็นต้น หมายเอานิยายหินายนยานต่างๆ ในยุคแตกนิกาย (ก่อนยุคมหายาน) เช่น สรวาสติวาว เป็นต้น ที่มีการนำคัมภีร์ของนิยายเหล่านี้ เผยแพร่เข้าไปในจีน ทิเบต มอญโกลเลีย เกาหลี ญี่ปุ่น