ธรรมวาระ ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 คาถาชาดกพากย์จีนที่มีความสอดคล้องกับชาดกบาลี: ศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบ หน้า 63
หน้าที่ 63 / 74

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจในด้านการแปลทางภาษาศาสตร์ระหว่างภาษาบาลีและจีน พร้อมการวิเคราะห์การเปรียบเทียบคาถาในวรรณกรรมต่าง ๆ เช่น โมฆัตตชาดกและการแปลคาถาจากภาษาสันสกฤต รายละเอียดนี้จะช่วยให้เข้าใจถึงความสัมพันธ์และความเหมือนที่พบในต้นฉบับ จึงน่าสนใจในยุคปัจจุบันที่ยังคงต้องศึกษาเพื่อความถูกต้องในทางธรรม.

หัวข้อประเด็น

-การแปลภาษาบาลีและจีน
-คาถาในวรรณกรรม
-โมฆัตตชาดก
-ความสัมพันธ์ของคาถา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมวาระ วาสนาเขิญวิชาเทพารักษะพระพรหมสานาน ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 9) ปี 2562 (ดูตราวที่ 2) ที่ใช้ว่า “alpaśvädan bahuduḳkhan” (มีความยินดีด้วย มีทุกข์มาน) และ “Samyaksaṁbuddha” (พระสัมมาสัมพุทธเจ้า) จึงสันนิษฐานได้ว่า ต้นฉบับสันสกฤตของอุทานวรรณกรรมนี้ท่านผู้แปลใช้ในการแปลเป็นภาษาจีนและทับถมันทัน มีข้อความของคำานี้สอดคล้องกับคำานั้นในพระวินัยมูลสวรรคตไกลชัวยสต์ (ที่พบในปัจจุบัน) มากกว่า ยังอักษรคาถาหนึ่งในพากย์จีน ซึ่งพบคาถาที่สอดคล้องกันเฉพาะกับฝ่ายบาลี (ยังไม่พบคาถาที่สอดคล้องกันในสันสกฤตหรือทิเบต) แต่พอจะมีข้อสังเกตเกี่ยวกับคาถาของต้นฉบับที่ใช้แปลเป็นภาษาจีนได้บางประการ ดังจะได้กล่าวในข้อถัดไป (3) คำภัรษฎกตะ (生経) พากย์จีนเป็นเรื่องหนึ่งสอดคล้องกับโมฆทัตตชาดกในปายบาลี เนื่องเรื่องกัลถึงฤูษเลี้ยงลูกช้าง คาถาชาดกเรื่องนี้ย่อสอดคล้องกับคาถาในมิคิปลกของด้วย แต่เนื้อเรื่องต่างกันเล็กน้อยคือ สัตว์เลี้ยงที่กล่าวถึงในมิคิปลกเป็นลูกเนื้อ (สัตว์จำพวกกวาง) พบคาถาประกอบชาดกที่มีความสอดคล้องกันเป็นจำนวน 4 คาถา (แสดงไว้ใน 2.20-23) ในที่นี้จะกล่าวถึงคาถาแรก (ข้อ 2.20) เทียบกันดังนี้ โมฆัตตชาดก คาถาที่ 3 anāgārīyupetassa vippamutassa cetaso samanassa na tam sādhu yam petam anusoci. เมื่อเป็นผู้ไม่คองเรือน จิตใจไปล่อลวงแล้ว ภาวิศกาศเศร้าสร้อยสัตว์อันตายไปแล้ว ไม่เป็นการดีสำหรับสมณะ _________________________________________________________________ 79 J : 168 (Be); J : 228 (Se) ใช้เป็น “te sato” เทน “cetaso”
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More