การวิเคราะห์คาถาบาลีในพระพุทธศาสนา คาถาชาดกพากย์จีนที่มีความสอดคล้องกับชาดกบาลี: ศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบ หน้า 55
หน้าที่ 55 / 74

สรุปเนื้อหา

บทความนี้นำเสนอการวิเคราะห์การใช้คำในคาถาบาลีต่าง ๆ โดยเฉพาะคำว่า “ca” และ “jina” وการเปรียบเทียบกับคัมภีร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง เพื่อให้เข้าใจในความหมายและการใช้ในบริบททางพระพุทธศาสนาอย่างลึกซึ้ง ข้อมูลเหล่านี้ช่วยเสริมสร้างความเข้าใจในคาถาที่ปรากฏในคัมภีร์นิยกและนำไปสู่การศึกษาเชิงลึกเกี่ยวกับธรรมะและพระวินัย

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์คาถาบาลี
-ความหมายของคำในคัมภีร์
-การศึกษาเชิงลึกทางพระพุทธศาสนา
-การเปรียบเทียบคัมภีร์นิยก
-ความสำคัญของภาษาในการศึกษา

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมา วิเคราะห์วิชาความรู้ทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 9) ปี 2562 คำว่า “ca” (ก็) ในคาถาบาลีนี้มีปรากฏใน ม.252³ (Ce); J III: 284³ (Ee); J I: 201³ (Se) ส่วน J: 147¹⁷ (Be) ใช้เป็น “ce” (หากว่า) เมื่อเทียบเคียงกับคาถาที่สอดคล้องกันในคัมภีร์นิยมอื่น พบว่าในตำแหน่งนี้ส่วนใช้คำที่สอดคล้องกับความหมายว่า “หากว่า” ดังนี้ (1.1) คาถาพากย์จีนทั้งสองฉบับนี้ใช้ว่า “若” (หากว่า) (1.2) คาถาในพระวินัยมูลสรวาสติวาทฉบับแปลเทียม กล่าวว่า “gal te” (หากว่า) (1.3) คาถาที่สอดคล้องกันในมหาวัสดุอาจาน ใช้ว่า “sacet” (หากว่า) ข้อมูลนี้จะใช้ประกอบเพิ่มเติมในการพิจารณาตรวจชำระคาถาอัชฌฎบสฑ์ได้ กล่าวคือ คาถาที่ปรากฏในคัมภีร์นิยกอีกทั้ง (ที่พบในปัจจุบัน) ล้วนสนับสนุนการใช้คำว่า “ce” (2) คาถาที่ 28 ในจุลหลังสาตดก (ดู 2.31 ประกอบ) ข้อความมาบรรจบหลังคาถาว่า na te lābhena ji’n’athi, etena nimina tumav เทียบได้กับพระวินัยสบกพากษ์จีนข้อความว่า ới刀殺我, 放王不損汝 คำว่า “jina” (เสี่ยว) ในคาถาบาลีนี้ปรากฏใน ม.3268 (Ce); J V: 343¹³ (Ee); J II: 70¹⁹ (Se)68 ส่วน J II: 85¹⁰ (Be) ใช้เป็น “jiva” (ชีวิต) เมื่อเทียบเคียงกับคาถาที่สอดคล้องกันในคัมภีร์ของสรวาติวท คื พระวินัยสบกพบใช้เป็น “ṭṭa” (เสี่ยว) จึงเป็นข้อมูลประกอบเพิ่มเติมได้ว่าคาถาที่ปรากฏในคัมภีร์นิยกอื่น (ที่พบในปัจจุบัน) สนับสนุนการใช้คำว่า “jina” _____________________________ 68 ฉบับ Se ใช้เป็นรูปประเสริฐสั้น (ทำรัศมีสะระะตัวแรก) คือ jina
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More