ฝนหาปนะและรัตนะ 7 คาถาชาดกพากย์จีนที่มีความสอดคล้องกับชาดกบาลี: ศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบ หน้า 62
หน้าที่ 62 / 74

สรุปเนื้อหา

บทความนี้พูดถึงคำว่า 'ฝนหาปนะ' ซึ่งหมายถึงการสนับสนุนของพระเจ้าในรูปแบบของรัตนะ 7 ที่ตกลงมาเพื่อช่วยเหลือมนุษย์ที่เป็นทาส รวมถึงความหมายที่ลึกซึ้งในบทความทางพุทธศาสนา และเปรียบเทียบกับเอกสารจากภาษาจีนและฉบับสนุกที่แสดงให้เห็นถึงความเคารพและความเข้าใจในคาถาที่แตกต่างกัน การนำเสนอรายละเอียดเชิงลึกของคำและคาถาเพิ่มความเข้าใจให้กับผู้อ่าน.

หัวข้อประเด็น

-ฝนหาปนะ
-รัตนะ 7
-ความเชื่อทางพุทธศาสนา
-การเปรียบเทียบวรรณกรรม
-พระพุทธเจ้า

ข้อความต้นฉบับในหน้า

na kahāpanāvassenā ‘ti tesam dæsabūtānam manussānam anuggāhāya Mandhāta apphotēvā sattaratnavassam vassāpeti, tam idha kahāpanavassan ti vuttaṁ. (J II: 313^27-314^1 Ee) ในคำว่า เพราะฝนหาปนะ(นะ หาปนะสูเสน) นี้ พระเจ้า มันถาดทุงรงปรบพระหัตถ์กำให้ฝนรัตนะ 7 ตลงมา เพื่อรงสงเคราะห์พวกมุนุษย์ผู้เป็นทาสเหล่านั้น ฝรัตนะ 7 นั้น ท่านเรียกว่า ฝนหาปนะ ในคาถานี้ (ขุ.อ.58/59 แปล.เมาะ) สนับสนุนได้ว่า คำความพากย์ดีนั่นกล่าวว่า “๗ซฺ” เป็นการนำความหมายที่แท้จริงของ “ฆะปนะ” ในคำานี้มาใช้แปล มิได้แปลทับศัพท์แบบในฉบับทะบิตหรือไทย แต่ก็อาจมีความเป็นไปได้เช่นกันว่าต้นฉบับสนุกๆ ที่ใช้เป็นพญาอินทฤคาจะใช้ว่ากว่า “saptaratna” (รัตนะ 7) แทนคำว่า “karśāpaṇa” (2.2) พวกจีนว่า “樂少苦多” (มีความยินดียุ่ย มีทุกข์มาก) และ “三佛” (พระสุมามาสมัพุทธเจ้า) มีความหมายเหมือนฉบับทบิต คือ “dod pa mnog chung nyes mang ba” และ “rdzogs sangs rgyas” ตามลำดับ ส่วนฉบับสนุก (ที่พบในปัจจุบัน) มีความแตกต่างจากฉบับจีนและทบทบิตเล็กน้อย คือใช้ว่า “alpasvādaskhāh.” (มีความยินดี[น้อย]และสุข[น้อย]) และ “Buddhānām” ซึ่งมีฉบับเดิมว่า Buddha (พระพุทธเจ้า) ส่วนที่ต่างกันเล็กน้อยนี้ คือ ฉบับสนุกไม่มีคำที่มีความหมายว่า “มีทุกข์มาก” อีกทั้งไม่มีคำที่มีความหมายว่า “สมา” แต่นับจีนและทบทบิตท่อนี้กลับมีความหมายตรงกับคาถาสนับฎ(ที่พบในปัจจุบัน)ในพระวินัยมุตตวาสติวาทโกษะวตา
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More