ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมาภิ
วาดสาววิชาชีพทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 9) ๒๕๖๒
แตกต่างกันกับคาถาบาลีอยู่แล้ว หรือฉบับที่ใช้ในการแปลเป็น
ภาษาจีนมีความหมายเหมือนกับคาถาบาลีทุกประการ แต่ท่านผู้แปล
เป็นภาษาจีนเลือกที่จะจะแปลโดยใจความ มีได้แปลตรงตัวตามอักษร
(เพื่อให้คนจีนในยุคสมัยนั้้นอ่านเข้าใจได้ง่ายขึ้น) นอกจากนี่ยังมี
ข้อจำกัดอีกประการหนึ่ง คือ ในการแปลคาถาจากภาษาบาลีเป็นภาษา
ภาษาจีนจะนิยมแปลออกมาให้เป็นร้อยกรอง (กลอนจีน) ดังนั้นในการ
เลือกคำมาใช้ในลักษณมีข้อกำหนดเรื่องจำนวนอักษรในแต่ละวรรคของ
ร้อยกรองจีนเข้าไปเกี่ยวข้องด้วย ทำให้มีข้อจำกัดในการถอดความให้ได้
ความหมายครบถ้วนสมบูรณ์อยู่บ้าง
จากการศึกษาข้อความในคาถาบาลีเป็นพยัญชนะ พบว่า
มีปัญหาที่น่าศึกษาหรือเป็นประโยชน์ 4 ประการ คือ
4.1 คาถาบาลีบางคาถาอาจเป็นประโยชน์ต่อการสืบค้นความหมาย
คำจินที่แปลทับศัพท์
คำภีร์พญาจีนที่ได้รับการแปลมาจากภาษานี้บรรจุในบันทึกสกุลต่าง
เป็นภาษาไทย เป็นการถอดเสียงโดยใช้ภาษาจีนที่มีเสียงอ่านใกล้เคียงกับเสียง
ในภาษาเดิมมากที่สุด(ในยุคสมัยนั้น) บางคำมีปรากฏใช้หลายแพร่หลาย
ในคำภีร์จีนจึงเป็นที่ทราบกันดีว่ามาจากคำใดในภาษาสันสกฤต แต่บางคำ
พบใช้น้อยมาก หรือพบในพระสูตรเดียว ยากที่จะสืบค้นว่าแปลมา
จากคำใด หรือมีความหมายโดยละเอียดอย่างไร
เมื่อได้ศึกษาคาถาดาบกบาลีเทียบกับพาญี่ปุ่นพบว่ามีคาถาบาลี
อย่างน้อย 2 คาถาที่เชื่อประโยชน์ต่อการสืบค้นความหมายคำจิน
ที่แปลทับศัพท์ แม้วัตถุฉบับที่ใช้แปลมาเป็นคาถาดกาญจน์นั้น