ธรรมสาร ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 คาถาชาดกพากย์จีนที่มีความสอดคล้องกับชาดกบาลี: ศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบ หน้า 9
หน้าที่ 9 / 74

สรุปเนื้อหา

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการถ่ายทอดชาดกในพระไตรปิฎกบาลีและคัมภีร์หินยาน โดยเน้นไปที่บทสนทนาของพระพุทธเจ้าและวิธีการที่พระสาวกถ่ายทอดข้อธรรมให้เกิดการเข้าใจและเห็นภาพเหตุการณ์ในอดีตชาติโดยอิงจากแหล่งข้อมูลในพระวินัยหินยานและคัมภีร์อื่นๆ เช่น อาคาม ธรรมบท และอวาน การลำดับเรื่องราวและการตีความของพระสาวกอาจมีความแตกต่างกัน กระตุ้นให้เกิดการสืบค้นความถูกต้องและความสดใสของหลักธรรมในวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาชาดก
-พระพุทธศาสนา
-การถ่ายทอดหลักธรรม
-พระไตรปิฎกบาลี
-คัมภีร์หินยาน

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมสาร วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 9) 2562 ต่อประโยคได้ มีเพียงบทราคาที่สามารถเทียบเคียงเนื้อความกันได้ บทความนี้มีวัตถุประสงค์ที่จะตรวจคาการชาดกที่ได้รับการถ่ายทอดสืบต่อกันมาผ่านในพระไตรปิฎกบาลีและคัมภีร์หินยานที่เก็บรักษาไว้ในพายจีฉบรรณ. สำหรับเนื้อเรื่องชาดกพากย์ฉบับนี้ มีกระจายกันอยู่ในหลายหมวดคัมภีร์ได้แก่ พระวินัยหินยาน(เสียงเทียบพระคาถา) อาคาม (阿含経) ธรรมบท(法句經) อวาน (聲譽經) พุทธประวัติ(佛傳) เป็นต้น และยังมี (เชิงอรรถต่อจากหน้าที่แล้ว) มีข้อสังเกาว่า พระพุทธเจ้าสดใสเรื่องราวในอดีตชาติโดยให้ผู้ฟังเห็นเหตุการณ์นั้น(ในสมาธิ)ตามไปด้วย เช่น J-a 1: 98 2-7 (Ee) (บูชา.อ.55/150 แปลม.มร) ข้อความว่า “atha bhagava ... settinho satuppadam janetva himagabbham padaletva pun.nacandam niharanto viya bhavantare na ptichannakarana p katam akasi.” (ลำดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้า ... ทรงยลสติให้เกิดขึ้นแก่เศรษฐี แล้วได้ทรงกระทำเหตุการณ์ที่ถูกภาพอื่นปกปิดไว้ให้ปรากฎ ดูดำกลายกลุ่มหมอกนำพระฉันท์เผื่อออกมาจะนั่น) และ J-a 1: 107 17-19 (Ee) (บูชา.อ.55/163 แปลมร) ข้อความว่า “tena hi bhikkhave sunattha’ti Bhagava tesam bhikkhunam satuppadam janetva bhavantare na ptichannakarana p katam akasi.” (พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงยิ่งสดใให้เกิดขึ้นแก่ภิกษุหลายเหล่านี้ด้วยพระดำรัสว่า “ภิทฺทํ ทําหลายถ้าถอยงั้น เธอทั้งหลายจงฟัง” ดังนี้แล้ว ได้ทรงกระทำเหตุการณ์ที่ถูกภาพอื่นปกปิดไว้ให้ปรากฎ จึงเป็นไปได้หรือไม่ว่า เมื่อพระสาวกแต่ละท่านถ่ายทอดเรื่องราวที่ได้เห็นนั้นออกมาเป็นถ้อยคำ อาจมีเนื้อหาบางส่วนที่เรียบเรียงตามลำดับของตนเองโดยมีความย่อยละเอียดแตกต่างกันไปส่งผลให้เนื้อหาดกเรื่องเดียวกันนี้ทรงจําได้บ้างก็สูญหายแตกต่างกันค่อนข้างมาก
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More