การศึกษาเสียงและความหมายในคาถา คาถาชาดกพากย์จีนที่มีความสอดคล้องกับชาดกบาลี: ศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบ หน้า 52
หน้าที่ 52 / 74

สรุปเนื้อหา

บทความนี้สำรวจความเกี่ยวข้องระหว่างคาถาในถุงลาภากะดกกับพระสูตรในพุทธศาสนา การเปรียบเทียบเสียงในภาษาจีนและเสียงสันสกฤตที่เกี่ยวข้องกับวัชนิดหนึ่ง รายละเอียดและการอภิปรายเกี่ยวกับคำจินต์ที่แสดงถึงเสียงและความหมายในบริบทของพระพุทธศาสนา การศึกษาเสียงอักษะและความหมายในเนื้อหา.

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาเสียง
-ความหมายในคาถา
-การเปรียบเทียบระหว่างภาษา
-พระสูตรพุทธศาสนา
-วัชนิดและชื่อทางวิทยาศาสตร์

ข้อความต้นฉบับในหน้า

คาบากะขาวจากฉบับนี้มีความสดคล้องกับคาบากะจากปัจจุบัน (1) คาถาในถุงลาภากะดก (ดู 2.2 ประกอบ) ข้อความบางส่วนของคาถาดังนี้ kulavakā Mātali Simbalismimī istamukhena parivajjayassu เทียบได้กับพากาอินในโลกสถานสูตร (大樓炭經) ว่า 語飢者烏骶拔, 回馬車當避去 คำจินต์แบบปลอดเสียงว่า “骶拔” (เสียงอ่านแบบจีนกลางในปัจจุบัน “ถับ”) ยังไม่พบว่ามีปรากฏใช้ในพระสูตรอื่นของคัมภีร์จีน อีกทั้งไม่แสดงไว้ในพระนาคปรก ศพทางพระพุทธศาสนาของจีน ลำพังกาศห้อยข้อมูลในพากย์จีนจึงอาจจะไม่สามารถถอดเสียงเพิ่มเติมได้ว่าหมายถึงอะไร แต่เมื่อ納音เทียบเคียงกับคาถาบาลีพบว่าตรงกับ “Simbalismim” ซึ่งมีรูปศัพท์เดิมว่า Simbali หรือ Simbali เทียบเคียงในสันสกฤตแล้วตรงกับ Śimbala หรือ Śālmalī หรือ Ŝālmalī จึงทราบได้ว่าหมายถึง ต้นวัอันเป็นต้นนุชชนิดหนึ่งที่มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า *Bombax heptaphyllum* หรือ *Bombax ceiba* 62 เสียงอักษะ “骶” ในภาษาจีนยุคดั้งเดิมค่อนข้างใกล้เคียงกับเสียงสันสกฤตว่า “Sim” ดูเพิ่มเติมได้ใน Pulleyblank (1991: 5, 275) 63 MW: 1068, 1072; PTSD: 711
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More