ข้อความต้นฉบับในหน้า
คาถาสํคัญกฤษฎีนี้มีความหมายตามตัวอักษรตรงกันกับฉบับบดีแทบทั้งคาถา ยกเว้นคำแรกของวรรค 3 คือ "kṣantya" ซึ่งเป็นศัพท์เดิมว่า kṣanti มีความหมายว่า "ขันธ์" หรือความอดทน ซึ่งตรงตามความหมายของคำที่ใช้ในยุคสมัยของจีน จึงกล่าวในเบื้องต้นได้ว่า คาถานี้ในต้นฉบับสํคัญกฤษฎีใช้แปลมัยยามน่าจะเหมือนหรือใกล้เคียงกับคาถาสํคัญกฤษฎีในอุตตรวรรค70 ส่วนคาถานี้ในต้นฉบับที่ใช้แปลพระวิสาสดิ์ส่วนค่อนข้างเหมือนหรือใกล้เคียงกับคาถาบดี เมื่อพิจารณาถึงความเกี่ยวข้องกันของ "ขันธ์" กับ "ความไม่มีเวร" พบว่าสิ่งที่น่าหนึ่งในอรรถกถาอธิบายว่า ความไม่มีเวรหมายถึงขันติได้ด้วยคำว่า "averena khanitmettodakena" (Dhp-a.1:5110Ee) ซึ่งมีความหมายว่า "ด้วยความไม่มีเวร" หมายถึง ด้วยน้ำคือขันติและเมตตา (ช.อ.40/55 แปล.มมร) ดังนั้นจะเห็นได้ว่า แม้ข้อความของคาถาบดีและอรรถกถาส่วนนี้จะมีความแตกต่างกันโดยพยัญชนะ แต่โดยไล่ความแล้วยังคงมีความเกี่ยวเนื่องกันอยู่ 4.4 พวกจีนบางคาถาแปลโดยใความหรือใช้งนฉบับต่างจากที่ในปัจจุบัน คาถาชาดกพากย์จีนบางคาถามีฉบับสันสกฤตปรากฏอยู่และยังมีฉบับแปลบลบ แต่พบว่า พวกจีนบางส่วนมีความหมายต่างจากฉบับสันสกฤต(ที่พบในปัจจุบัน) หรือแตกจากฉบับแปลบลบ เช่นคาถาชาดกเรื่องมัณฑุต" (ดู 2.10 ประกอบ) ในพระวินัยมูลสรรวาสติวาทไทยชยะ-วัตถุ และคาถาวัณกรรม