ธรรมหารา คาถาชาดกพากย์จีนที่มีความสอดคล้องกับชาดกบาลี: ศึกษาวิเคราะห์เปรียบเทียบ หน้า 29
หน้าที่ 29 / 74

สรุปเนื้อหา

บทความนี้จัดทำขึ้นเพื่อวิเคราะห์ความหมายของคาถาธรรมะสุปนืรที่พระพุทธเจ้าตรัสศึกษาถึงหลักการที่ว่า เวรในโลกไม่อาจระงับด้วยเวร แต่สามารถระงับได้ด้วยความไม่เวร ซึ่งถือเป็นธรรมที่เก่าแก่ มีการอ้างอิงถึงหลักการในพระไตรปิฎกที่กล่าวถึงความไม่เวร โดยยกตัวอย่างจาก Dighitikosalajātaka, Kosambjātaka, มัชฌิมา, พระวินัยส่วน และพระวินัยสีส่วน เพื่อแสดงให้เห็นถึงความสำคัญและพลังของหลักการนี้

หัวข้อประเด็น

-การวิเคราะห์ธรรมะ
-พระพุทธศาสนา
-ความไม่เวร
-คาถาธรรมะสุปนืร
-อ้างอิงจากพระไตรปิฎก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมหารา วาสนา วิชาการวิชาทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 9) ปี 2562 2.16 คาถาที่พระพุทธเจ้าตรัสธรรมะสุปนืร เนื้อเรื่อง - no.3716 (Dighitikosalajātaka) และตรงกับ no.4285 (Kosambjātaka) na hi verena verāni sammant’ thứha kudācanam, averena ca samanti, esa dhammo sanantano. (J III: 21210-11, 4889-10 Ee) ในกลาสไหนๆ เวรในโลกนี้ย่อมไม่ ระงับด้วยเวรเลย แต่ย่อมระงับ ได้ด้วยความไม่เวร ธรรมนี้เป็น ของเก่า (ชุ.ซา. 58/807/621 แปล.มม., 27/115/220 แปล.มนจ) - มัชฌิมา (中阿含) 若以諸止譯, 至竟不見止, 唯忍能止譯, 法可尊貴. (T1: 532c14-15) หากใช้เวรไปประังเวร ทายที่สุดก็ไม่เห็นว่าวรรงบงได้ แต่สามารถ ระงับได้ด้วยขั้นดับเท่านั้น เป็นธรรม อันนับว่าทรงสูงส่ง - พระวินัยส่วน (五分律) 若以怨除怨, 恆終不可息, 不念怨自恣, 則最勇健. (T22: 160a21-22) หากใช้เวรไปประังเวร เวรไม่อาจ ระงับได้ในที่สุด เมื่อไม่ผูกเวร ก็จะ ระงับได้เอง เป็นหลักการอัน หนักแน่นทรงพลังยิ่ง - พระวินัยสีส่วน (四分律) 以怨除怨, 忿仇恆不除, 無怨怨自恣, 其法勇健樂. (T22: 882b27-28) หากใช้เวรไปประังเวร เวรไม่ระงับ ไปในที่สุด เวราะอมระงับได้เองด้วย
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หน้าหนังสือทั้งหมด

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More