ข้อความต้นฉบับในหน้า
คาคากาชากานนี้ซึ่งมีความสงบคล้ายกันกับกาดานมานี้ ศึกษาดคอรบเปรียบเทียบ The Chinese Jataka's Stanzas that Correspond with the Jatakas: A Critical Comparative Study 149
เป็นไปได้มากขึ้นอีกว่า มีปรากฏตั้งแต่ก่อนแตกกิยากล่าวคือก่อนการ สังคายานครั้งที่ 2 ได้แก่ คาถาในข้อ 2.1, 2.5, 2.10 (รวมถึงคาถาใน ข้อ 2.14, 2.15, 2.19 ที่มีปรากฏในคัมภีร์มหาสังคะ) ส่วนคาถาอื่นๆ ที่มีปรากฎ เฉพาะในคัมภีร์ของนิคายใดนิคายหนึ่งเท่านั้น ก็อาจมีความเก่าแก่ เช่นนี้ได้ เพียงแต่ยังไม่มีข้อมูลจากนิคายอื่นมายืนยันให้แน่นอน จากตารางที่ 1 จะเห็นอีกว่าหลายนิกายได้บรรจุถกท่ามีความ สอดคล้องกับชาดกบาลีไว้ในคัมภีร์ทั้งหมดและอคมทั้งสิ้น เป็นต้น จึงสนิทฐานในเบื้องต้นได้ว่า เดิมทีเนื้อชาดกจำนวนไม่น้อยน่าจะถูก จัดเก็บไว้ในคัมภีร์อื่นๆ ก่อน ได้แก่ พระนิยาย และอาคมหิลิสี (เทียบเท่า พระสูตรต้นปฐก 4 นิยายแรก) แล้วต่อมาจึได้รับการประมวลมาไว้ใน คัมภีร์ชาดกเป็นการเฉพาะ นอกจากน นี้ คาถาชาดกบางเรื่อง เช่น มันตดุ ชาดก ยังได้รับความสำคัญอย่างมากจนบรรจุไว้ในคัมภีร์ธรรมบท หรืออุทานวรรณคดีด้วย
4. ประเด็นศึกษาเพิ่มเติมในบางคาถา
จากคาถาชาดกบาลีและพากย์จีนที่ได้รับประมวลมาแสดงไว้ในหัวข้อ ที่ 2 ของบทความ จะเห็นได้ว่า บางก็มีความหมายสุดคล้ายกันทั้งหมด บางก็มีความหมายแตกต่างกันบางแห่ง สำหรับคาถาที่มีความหมาย ต่างกันบางแห่งนั้น อาจเป็นไปได้ว่าต้นฉบับที่ใช้ในการแปลเป็นพากย์จีน