ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมธารา
วาดลักษณะทางพระพุทธศาสนา ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (ฉบับรวมเล่มที่ 9) 2562
3.1 นิกาย(มูล)สารสติวาม ได้แก่ พระวินยสังวร พระวินัย มูลสารสติวาม (วินัยวิ่งคืน) พระวินย มูลสารสติวามไกล้ชั้ยวัลุ มัธยมค 56 สังฆฤกตาป 57 และอทนวรรณ 58
3.2 นิกายธรรมคุปต์ ได้แก่ พระวินยสส่วน และทีรามค 59
3.3 นิกายมหาสกละ ได้แก่ พระวินยห้าส่วน
3.4 นิกายมหาสิกขา ได้แก่ พระวินยมหาสิกขาและเอกโกฎตกาม 60
นอกจากเนื้อหาพุทธประวัติจากคัมภีร์นาฎนธรรมคุปต์เป็นหลัก แล้วยังนำเนื้อหาจากคัมภีร์ของอีก 4 นิกาย คือ มหาสังฆี สฤตวิตากายและมหาสังฆา เข้าประมวลรวมได้ด้วย
คาถาเหล่านี้ส่วนปริภูในคัมภีร์ตั้งแต่สองนิกายขึ้นไป จึงสันนิษฐานได้ว่ามีปริมาณอย่างซ้ำที่สังเกตตั้งแต่ยุคแตกนิกาย 61 ในจำนวนนี้คาถาที่มีปริมาณทั้งในคัมภีร์นิยายแวดวกและมหาสังฆา ยังมีความ
56 Anālayo (2012: 516)
57 ดูจากชื่อวิเคราะห์เกี่ยวกับนิกายที่เป็นแหล่งต้นฉบับของสังยุทธคามพากย์จีนได้ใน Anālayo (2015: 1 footnote 1)
58 Maki (1958: 113)
59 Bucknell (2014: 58)
60 Kuan Tse-fu (2013: 182) เนื้อหาส่วนหนึ่งของต้นฉบับเอกตกตราคม น่าจะมีเค้าเดิมหรือรับมาจากสังฤติวิถีดูเพิ่มเติมใน Hiraoka (2013: 75-102)
ในที่นี้เป็นการใช้หลักฐานจากคัมภีร์ต่างนิกายมายสนับสนุนความเก่าแก่ของ เนื้อหาส่วนที่เป็นคาถาจำนวนหนึ่ง which พอสันนิษฐานเกี่ยวกับคาถา เหล่านี้ปรกฏในยุคเริ่มแรกได้ว่า โดยภาพรวมจะมีรูปแบบและเนื้อหาใกล้เคียงกับคาถาที่ปรากฏในปัจจุบัน ส่วนในแห่งหลักฐานทางโบราณคดี ยืนยันได้ว่าเรื่องราวชาดก (ในอรรถกถา) จำนวนหนึ่งเกิดขึ้นก่อน พุทธศตวรรษที่ 3 เพิ่มได้ใน พระมหาพงศ์ศักดิ์ ธนิษโย (2559: 168-193)