ข้อความต้นฉบับในหน้า
อย่างไรก็ดี นี่เป็นเพียงข้อมูลเสริมประกอบการพิจารณาเท่านั้น ในการตรวจชำระจริงยังจะต้องอาศัยข้อมูลที่ปรากฏในคัมภีร์โบราณอีกหลายฉบับ
4.3 บางคาถาใช้คำต่างกัน แต่มีความหมายเกี่ยวเนื่องกัน บรรดาคาถาที่ได้คัดเลือกมาเปรียบเทียบไว้ในหัวข้อที่ 2 นั้น บางคาถาปรากฏคำหรือข้อความที่มีความหมายแตกต่างกันตามตัวอักษร แต่ใจความโดยรวมยังคงคล้องกันอยู่ เช่น คาถาในวัฏฏกชาดก (ดู 2.3 ประกอบ) วรรคสุดท้ายว่า “jätaveda paṭikkama” (ไฟ ท่านจงถอยกลับไปเสีย) ส่วนในพระนิพนธ์ส่วน (ของนิภายมหิศศาละ) พากย์จีนว่า “唯願活我命” (ขอเพียงให้เรารอดชีวิตเกิด) แม้ว่าความหมายตามตัวอักษรของทั้งสองฉบับนี้จะต่างกัน แต่ก็สื่อถึงใจความหรือความมุ่งหมายอย่างเดียวกันคือ “ไฟดับไปเพื่อให้นกโพิสัสมีชีวิตรอด” แต่พระนิพนธ์ส่วนนี้ไม่มีฉบับสนิทสนมกลก77 ปรากฏอยู่ จึงไม่อาจลงรายละเอียดได้มากนัก
ขอกล่าวถึงคาถาพากย์จีนที่สามารถหาคาถาสนุกุตตันสอดคล้องกันมาใช้ประกอบการศึกษาได้ คือ คาถาในมัชฌมาพาคย์จีน(ดู 2.16 ประกอบ) ซึ่งสอดคล้องกับคาถาที่ 6 ของที่มีโลสาถาด (ตรงกับคาถาที่ 5 ในโกลัมพิกาถาด) ทั้งยังสอดคล้องกับคาถาในพระนิพนธ์สีส พาถายด้วย ขอนำคาถาทั้ง 3 ฉบับมาแสดงเปรียบเทียบอีกครั้งดังนี้
คาถาชาดกบาล
69 ต้นฉบับพระนิพนธ์ส่วนที่พระอภิญญาเสี้ยนหรือเพี้ยน(法題) ได้นำไปจากศรีลังการเป็นภาษาสันสกฤต ดังที่บทบันทึกไว้ในฉนวนหมายเหตุแห่งพุทธอาณาจักร(佛國記 或 高僧法顯傳)ว่า “法顯住此國二年,更求得彌沙塞律藏本,得長阿含、雜阿含、復得一部雜藏.此惡漢土無者。得此本已載商人大船上可有二百餘人。”(T51: 865C24-27)