ข้อความต้นฉบับในหน้า
คาถาชาดกฉบับนี้มีความสดใสมากกว่าคาถาชาดกในสกุล: ศึกษาเฉพาะที่เปรียบเทียบ
The Chinese Jataka’s Stanzas that Correspond with the Jatakapāli: A Critical Comparative Study
(1) ข้อความในคาถากบกลี 2 คาถา มีส่วนเอื้อประโยชน์ต่อการสืบค้นความหมายของคำจินต์ที่แปลทับศัพท์ 2 คำ คือ “皚披” (หมายถึงต้นจิ้ง) และ “羅婆” (หมายถึง นกขนาดเล็กชนิดหนึ่ง ภาษาไทยเรียกว่านกนางลำไย)
(2) ข้อความในคาถากบกลีฉบับจีน 2 คาถา สามารถใช้เป็นข้อมูลเสริมในการตรวจจำแนกคาถากบกลี 2 คาถานี้ คือ คาถาที่ 6 ของชุดคาถากบและคาถาที่ 28 ของจุดสนเทศคาถากบ
(3) คาถาบาลีอันดับที่ 6 ในศีลิโกลสถาด (ตรงกับคาถาที่ 5 ในโกษม์พชาดก) มีคำหนึ่งที่ความหมายตามตัวอักษรจากในพากย์จีนแต่เมื่อสืบค้นไปถึงคาถาสนุกฤทธิ์ที่สดคล้องกับคาถานั้น พบว่าเป็นคำที่มีความหมายเชื่อมโยงกันได้ กล่าวคือ สันกฏูว่า “ksanti”(ขันติ) ส่วนบาลีว่า “avera”(ความไม่มีโทษ)
(4) พากย์จีนบางคาถาแปลได้โดยใดความหรือให้ฉบับต่างจากที่ในปัจจุบันได้แก่ คาถามนต์ฤาษีในพระเวนิยมูสาสวาสติ-วาทไธษยะวัตถุดและอุทานวรรครพากย์จีน นอกจากนี้ คาถาพากย์จีนที่มีความสดคล้องกับคาถาที่ 3 ของโสมัหัตถคาถาในฝ่ายบาลี กลับมีเนื้อความค่อนข้างใกล้เคียงกับคาถากบกลีในคปฏคาถากบมากกว่าการศึกษาครั้งนี้ได้นำเสนอเฉพาะคาถากบกลีที่มีใจความโดยรวมสดคล้องกันเกือบทั้งหมด จึงนำเนื้อเรื่องของคาถากบเหล่านี้ในคัมภีร์บาลีและคัมภีร์กายอื่น มาศึกษาเปรียบเทียบโดยละเอียดเป็นเรื่องๆ ต่อไปนี้ได้ด้วย นอกจากนั้นยังมีอีกหลายคาถาที่มีเนื้อความสดคล้องกันประมาณหนึ่ง เช่น บางคาถาในเวสันดรชาดก เป็นต้น ทั้งยังมีอาณาบาลีอีกหลายคาถาที่สดคล้องกับคาถากบในคัมภีร์ภาษอื่น เช่น มหาวัสดุอาวุทาน (ภาษาสันสกฤต) เป็นต้น อันสามารถนำมาศึกษาเปรียบเทียบได้อีกเช่นกัน