ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมนูญ วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ฉบับที่ 1 ปี 2559
ครูธรรม 8
เป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติหรือไม่ (2)*
วิโลม สุจิตธรรมกุล
บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นบทความต่อเนื่องจากบทความในฉบับที่แล้วที่ได้วิเคราะห์ข้อสงสัยเกี่ยวกับครูธรรม ข้อที่ 1-4 ว่าเป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติหรือไม่ ในฉบับนี้จะวิเคราะห์ครูธรรมข้อที่ 5-8 โดยยังคงยึดหลักเดิมคือใช้หลักฐานจากคัมภีร์มาสเป็นหลัก เพราะหาเราจะแก้ข้อสงสัยในเรื่องใดเกี่ยวกับพระวินัยจำเป็นต้องแยกพิจารณาเป็นนัยๆ ไป เนื่องจากพระวินัยนัยต่างกันจะมีวิธีปฏิบัติแตกต่างกัน บทความนี้จะพิจารณาเป็นประเด็นปีนิดภายในกับการกำเนิดพระวินัยของภิกษุสงฆ์ เพื่อช่วยพิจารณาว่า "ธรรมหหน้า" นั้นหมายถึงสังคมสัตว์หรือไม่ จากนั้นจะนำข้อบัญญัติใจตติยาของภิกษุณีที่มีเนื้อหาเกี่ยวข้องกับครูธรรม 8 มาพิจารณา เพื่อสร้างความกระจ่างในประเด็นเรื่องการเป็นสิกขามา 2 ปี และการบวชจากสงฆ์ 2 ฝ่ายว่าได้บัญญัติมาตั้งแต่สมเด็จพระพุทธกาลหรือเพิ่งบัญญัติเมื่อครั้งสงฆ์นากครั้งที่ 1
นอกจากยังได้เสนอตารางเปรียบเทียบพระวินัยของทั้งภิกษุ และภิกษุณีในเรื่องจิกิจกรรม เพื่อให้เข้าใจจึงขึ้นว่าเหตุใดจึงมีครูธรรมข้อที่ 7 ที่ว่ากับภิกษุไม่ควรนำบริการภิษฐและสุดท้ายได้กล่าวในว่า “สอน” ของครูธรรมข้อที่ 8 ในกรณีไม่อนุญาตให้ภิกษุสอนภิษฐ แต่อนุญาตให้ภิกษุสอนภิษฐในขณะเดียวกันก็มีกรณีที่ภิษฐเดียวกันก็สอนภิษฐ ดั่งนี้จึงมาวิเคราะห์คำว่า “สอน” ในที่นี้จะแปลหมายเฉพาะเจาะจงในเรื่องการสอนให้ปฏิบัติ หรือสอนหลักปฏิบัติของนันบวช ซึ่งการวิเคราะห์ทั้งหมดได้คล่อยคลายข้อสงสัย นำไปสู่การยืนยันว่าการบัญญัติครูธรรม 8 เกิดขึ้นตั้งแต่สมเด็จพระพุทธกาล
คำสำคัญ: ครูธรรม, เสมอภาค, พุทธบัญญัติ
* บทความนี้เป็นส่วนหนึ่งของการนำเสนองานวิจัย ในงานสัมมนาวิชาการนานาชาติ คณะศาสนศาสตร์ประจำปี 2007 แห่งไท วัน เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม ค.ศ.2007 วิทยาลัยเจนีลส์ และเป็นส่วนขยายของบทความที่ตีพิมพ์แล้วใน Sucharithammakul (2008: 502-575)