ข้อความต้นฉบับในหน้า
ครูธรรม 8 เป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติหรือไม่ (2) 145
การบวช แต่เมื่อมีการละเมิด พระพุทธเจ้าจึงถืออภิภูตนีได้กระทำผิดไปจากที่กำหนดในครูธรรม จึงตั้งกฎบทลงโทษตามมาภายหลัง รังษีได้กล่าวว่า การที่พระวินัยบางข้อกับครูธรรม 8 มีความซ้ำซ้อน ก็เป็นเพราะครูธรรมไม่มีบทลงโทษชัดเจนในข้ออัน ๆ จึงทำให้มีกำหนดบทลงโทษหลังจากที่มีผู้ไม่ได้ปฏิบัติตามครูธรรม พระพุทธเจ้าจึงทรงบัญญัติเป็นพระวินัย ซึ่งยังได้กล่าวออกอย่างปฏิบัติขอ 63,65,71 ที่กล่าวถึงสตรี 3 ประเภทที่มาบวชโดยไม่ปฏิบัติละกรรมครบ 2 ปี รังษีให้ความเห็นว่า ถ้าหากกฎนี้และสตรีเหล่านั้นปฏิบัติตามครูธรรม 8 ก็จะไม่มีเหตุการนิดตื่นครรทิ้งครรธรรม์ หรือสตรีมีลูกก่อน และสตรี 3 ประเภทที่สงมาน่าไม่ครบ 2 ปี81
ผู้เขียนเห็นด้วยกับรังษีที่สำนักงานนั้นน่าจะมีอยู่ก่อน ด้วยเหตุผลเพิ่มเติมว่า หากสิกขาบทหมดความตั้งแต่บิตที่บัญญัติเรียงตามเหตุการณ์ที่เกิดขึ้น แล้วสมปรารถนาเป็นสิกขามา 2 ปีก่อนนบวชเป็นกฎในปิติขอที่ 63 เกิดหลังจากเหตุการณ์ที่กฎนี้มีกฎตั้งครรฑร (ปิติขีติ 61) ก็อาจจะเป็นไปได้
แต่เมื่อพิจารณาสิกขาบทหมดในของปิตที่ของกฎนี้ข้อที่ 65,66,71,72 จะพบว่า มีการกล่าวซ้ำในเรื่องสิกขามา 2 ปี สำหรับ สตรอายุมากกว่า 12 ปีมีสามันแล้ว (ปิติขีติข้อ 66) และสตรอใดอายุ 20 ปี(ปิติขีติข้อ 72) การกล่าวซ้ำในภายหลังมีได้หมายความว่า เดิมไม่ได้บรรญิติ เพราะปลอดีย้อที่ 63 ได้บรรญิติเรื่องการเป็นสิกขามาก่อนบวช 2 ปีแล้ว ดังนั้นในทำบุคเบเดียวกันการบรรญิติปลอดีย้อที่ 63 หลังบัญญัติห้ามภิกขุณตั้งครรครร์หรือแม่ลูก่อนบวชในข้อที่ 61,62 ได้หมายความว่าก่อนหน้านั้นไม่มีการบรรญิติเรื่องการเป็นสิกขามา 2 ปีก่อนนบวชในครูธรรม เป็นการไม่ปฏิบัติตามบทบัญญัติที่มีอยู่แล้ว จึงทำให้การบรรญิติพิ่มเติมในรายละเอียดแต่ละกรณีของหญิงที่ออกบวช ดังที่ปรากฏในสิกขาบทหมดในข้อที่ 66 และ 72
81 รังษี (2005: 94-101)