ข้อความต้นฉบับในหน้า
จำต้องปลอมอาบัติและทบทวนตนเอง 15 วันเพื่อให้พ้นจากอาบัติ ในอรรถกถาขององค์ตรัตนิกาย ได้อธิบายว่า ครรธรรม (garudhamma) หมายถึง อาบัติหนัก คือ อาบัติสังฆามาสส สำหรับคำว่า ปัญฺมาณัต (pakkhamānāt) อธิบายว่า ภิกษุณี่พึงประพฤติ มานัต 15 วันเต็ม3
ในกรณีนี้ก็ถูกอ้างอิงได้กล่าวว่า หนึ่งในเหตุผลที่พูดว่าครรธรรมไม่ใช่สิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติ คือ ความขัดแย้งกันเองเกี่ยวกับบทลงโทษของครรรธธรรมที่บัญญัติในพระวินัย กล่าวคือ ในพระวินัยได้บัญญัติว่า ภิกษุณี่กระทำผิดครรรธธรรมจะต้องรับมานัต แต่ในคัมภีร์พระวินัยที่เก่ากว่านี้ได้บันทึกไว้กว่า ต้องรับปาจิตติซึ่งเป็นบทลงโทษที่เบากว่ากว่า
นอกจากนี้ก็การประพฤติม่านัตคือว่าเป็นการลงโทษอย่างหนักเพื่อออกจากอาบัติ สังฆามาส ซึ่งเป็นอาบัติหนักรองลงมาจากปราชญ์ หากพิจารณาว่า เพียงแค่กิจฺณีไม่ไปปราบพระกิฺฏุหรือไม่ไปรับโอวาทแล้วต้องโทษโดยประพฤติม่านัตครึ่งเดือน โดยทุกวันต้องพิจารณาความผิดของตนเพื่อความบริสุทธิ์ แล้วจงไปลงอาบัติกับสงฆ์สองฝ่าย 10 หรือ 20 รูป ซึ่งก็เหลืออีกเพียงนิดเดียวก็จะถูกไล่ออกจากคณะสงฆ์ ในกรณีนั้นก็ความผิดที่ทำนันหนักหนามากเลยหรือ การลงโทษแบบนี้ก็ความยุติธรรมเพียงใดและอดีตที่คิดไม่ได้นว่า เรื่องนี้เป็นเรื่องที่ไม่สมเหตุสมผล4
ภิกษุณีเจ้าหญิงเห็นว่าการกระทำผิดครรรธธรรม แต่เดิมคงมีบทลงโทษแค่ปิจิตติย์แต่ภิกษุณีวางเป็นฝ่ายอนุรักษ์นิยมได้ตั้งลงโทษที่เข้มงวด (มานัต ครึ่งเดือน) เพื่อให้ยายต่อการบริหารปกครองภิกษุณี แต่ถ้าที่ยึดกับคัมภีร์พระวินัยที่กล่าวว่าเป็นปาจิตติย์ ก็ถือว่ายังมีช่องโหว่อยู่5
3 องฺ.อฏฺฐ.ฉ. 37/5521(แปลมมร.2543)
4 Shi, Zhaohui (2001: 209)
5 Shi, Zhaohui (2001: 131-132)