การศึกษาสิกขาบท 6 ข้อก่อนการบวชเป็นภิกษุ ครุธรรม 8เป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติหรือไม่ (2) หน้า 44
หน้าที่ 44 / 83

สรุปเนื้อหา

การบวชเป็นภิกษุไม่ใช่เพียงแค่การตั้งครรภ์ แต่ต้องอาศัยการศึกษาและเตรียมตัวภายในระยะเวลา 2 ปี ผ่านการศึกษาสิกขาบท 6 ข้อ เพื่อเสริมสร้างจิตใจให้เข้มแข็ง และสามารถอดทนต่อความยากลำบากในชีวิตสมณะ โดยมีเหตุผล 5 ประการ กล่าวถึงความสำคัญในการคัดเลือกผู้ที่ต้องการบวชและการป้องกันปัญหาที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต นอกจากนี้ยังเน้นการฝึกฝนความรู้ในศีลและธรรม เพื่อความเฉลียวฉลาดในภารกิจของภิกษุ

หัวข้อประเด็น

-การบวชเป็นภิกษุ
-ความสำคัญของการศึกษา
-สิกขาบท 6 ข้อ
-การเตรียมตัวทางจิตใจ
-การป้องกันปัญหาสำหรับสตรี

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ของตัวเองมา 60 ปี แต่ว่าหากจะบวชเป็นภิกษุยังต้องศึกษา สิกขาบท 6 ข้อ เพื่อการฝึกตัวเตรียมตัวเป็นภิกษุมากกว่าจะแค่การพิสัยการตั้งครรภ์ ซึ่งเป็นเพียงผลพลอยได้ 4. คุณค่าของบัญญัติข้ออื่น การกำหนดว่าจะต้องเป็นภิฆ突มานา ศึกษาธรรม 6 เป็นระยะเวลา 2 ปี ก่อนอุปสมบท เป็นภิฆ突นี พระมหาสงเคราะห์ให้ได้ให้เหตุผล 5 ประการในหนังสือภิฆ突นี กับการบรรลุอรรถผล ดังนี้ 1) เพื่อคัดเลือกและทดสอบสติผู้ปรารถนาเวรว่าจะ จะมีจิตใจแข็งแรงจริงจัง เพียงใด เมื่อเข้ามาบวชแล้วจะสามารถอดทนต่อความทุกข์ยาก ตลอดจนข้อปฏิบัติอื่นๆ ได้หรือไม่ เพราะพระพุทธเจ้าทรงตระหนักถึงสภาวะจิตของสตรีว่ามีความอ่อนแอไหวและอดทนต่อความลำบากได้ยาก 2) เพื่อฝึกฝนอบรมผู้ที่จะเข้ามาเป็นภิฆ突นี ให้มีความรู้ในศีลและธรรมขั้นมูลฐาน จะได้มีความเฉลียวฉลาดเมื่อได้อุปสมบทเป็นภิฆ突นีแล้ว เพราะในช่วงเป็นภิฆ突นาน 2 ปี ต้องอยู่ในสถาฎิฐานภิฆ突出อื่นๆ จิ่งเป็นการเรียนรู้เกี่ยวกับสมณจริยาและข้อปฏิบัติอย่างอื่นด้วย 3) เพื่อให้ภิฆ突นีเกิดความหงองเนองในความเป็นสมณะของตนเอง จะได้ไม่ประพฤติเสี่ยงหายอันเป็นอันตรายต่อเพศพรหมจรรย์ ซึ่งเป็นสิ่งที่ได้มาด้วยความยากลำบาก เพราะธรรมดาสิ่งที่ได้มาง่ายย่อมจะคูณค่ามีสูง 4) เพื่อป้องกันสตรีมีครรภ์หรือมีบุตรอ่อน ซึ่งยังดีมานอุปสมบท จะได้ไม่ต้องคลอดและเลี้ยงดูบุตรในระหว่างเป็นภิฆ突นี ซึ่งจะเป็นช่องทางให้ประชาชนกล่าวติเตียนได้ว่า มีสามี หรือประพฤติไม่เหมาะสมกับความเป็นสมณะ อันเป็นสาเหตุแห่ง
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More