ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมนำ วรสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ฉบับที่ 1 ปี 2559
ครูธรรมนำข้อที่ 8 ในกรณีของพระวินัยนิยมอื่น ๆ ที่เป็นฉบับแปลภาษาจีนโบราณ มีการแปลไปในทิศทางที่คล้ายกันคือ "มีอาจกล่าววามผิดของกิเลส" แต่สำหรับพระวินัยบางข้อบัญญัตินี้หมายถึง มีอาจสอนกิเลส ซึ่งตรงนี้ก็หมดประเด็นปัญหาเรื่องว่า กิเลสนี้กล่าวความผิดของกิเลสได้หรือไม่ เพราะไม่อาบุาส อบัลิลาและกิเลสนี่กลัวที่จะกล่าวความผิดของกิเลสได้ หากมีจุดความจริง และเพื่อเป็นประโยชน์ต่อพระพุทธศาสนา ซึ่งจะเห็นได้ว่า ความสนใจหรือข้อจงงบางประการมาจากการอ่านฉบับแปลหรืพระวินัยที่ต่างฉบับกัน แต่อย่างไรก็ตาม สำหรับพระวินัยบทนี้มุ่งเน้นไปในความหมายว่ากิเลสนี้อาจสั่งสอนกิเลส แท้ก็สามารถกล่าวได้ด้วยวาจาที่สุขภาพและให้เกียรติ
โดยสรุป จากการวิเคราะห์คำธรรม พบท่าการอ่านอิงข้อมูลจากคัมภีร์จีนซึ่งเป็นคัมภีร์ชั้นแปล หรือการตีความ คัมภีร์ของนักวิชาการแต่ละยุคแต่ละสมัย แต่ละคนนั้นมีความแตกต่างกัน หรือแม้บางคนจะกล่าวว่า ความเห็นอรรถกถาจายฝ่ายบาลีนี้เชื่อได้หรือ แต่เมื่อพระสูตรและพระวินัยสามารถให้ข้อความอะไรได้ คำของอรรถกถาจายก็เป็นสิ่งที่น่าพิจารณามากที่สุด การวิเคราะห์เรื่องนี้เลือกเฉพาะเจาะจงในคัมภีร์พระบาลีเท่านั้น เพราะแต่ละนิกายน พระวินัยมีกวามต่างกัน ในการปฏิบัติมีรายละเอียดยิบย่อยกัน ดังนั้นการวิเคราะห์เรื่องนี้ จึงจำเป็นต้องเลือกเฉพาะ 1 สายบายนาย และการวิเคราะห์ในคัมภีร์สายบาบได้แสดงความกระจ่างได้ค่อนข้างชัดเจน และความขัดแย้งในตัวของคำสอนที่ถูกซับซ้อนมา การที่มีปัจจัยยิบย่อยบางข้อทำให้ครูธรรมนำ 8 ข้อ จึงเป็นการตอกย้ำว่า ครุธรรม 8 นั้นมีมาก่อน แต่ยังไม่ได้กำหนดบทลงโทษผู้ละเมิดในสมัยแรก เหมือนมหาสต มัชฌิมาสต และจุดสี่ที่พระพุทธเจ้าได้ให้กับกิเลสในยุคแรก ซึ่งก็ไม่มีบทลงโทษเช่นกัน ดังนี้ลักษณะของครูธรรมนำ 8 จึงมีคุณลักษณะคล้ายคลึงมากกว่าวิณัย119 ยิ่งไปกว่านั้น ได้ยืนยันว่าสมัยของการบัญญัติครูธรรม ว่าเกิดขึ้นตั้งแต่สมัย