ข้อความต้นฉบับในหน้า
ครูธรรม 8 เป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติหรือไม่ (2) 123
พระสาวมี และยังอยู่ในรอบของสังคมอินเดียโบราณ ควรจะทรงผนวชต่อเมื่อพระเจ้าสุทโธนะแสนพระชมแล้ว โดยปีที่นักวิจัยชาวญี่ปุ่นคาดว่าพระเจ้าสุทโธนะแสนพระชมณะนี้ในปี 10 บ้าง ในปีที่ 23 บ้างหลังพุทธรรสู้ และปีที่พระนางปชชดิโดมบูรณะเป็นปีที่ 25 หลังพุทธรรสู้ เพราะพระอนนท์เป็นพุทธอุปัฏฐากมาได้ 5 ปีแล้ว พระนางดึงลูกขอขมา34 ดังนั้น จากหลาย ๆ เหตุผลที่ประกอบกันกล่าว การกำเนิดกิญจุ์ในปีที่ 5 หลังพุทธรรสู้ แทบจะเป็นไปไม่ได้เลย
ความเป็นไปได้ที่ทำเนิดกิญจุในพระจบที่ 15 หลังพุทธรรสู้
เนื่องจากข้อบัญญัติแต่ละข้อในสมัยพุทธกาลไม่เคยมีการบันทึกเวลาอยู่ในเอกสารประวัติศาสตร์ จึงทำให้เราไม่สามารถเรียงลำดับเหตุการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างชัดเจน แต่จากหลักฐานที่กล่าวมาข้างต้น ทั้งหมด 6 เหตุการณ์ เราสามารถอิ่มนวมได้ว่า การกำเนิดกิญจุซึ่งเกิดในช่วงปีที่ 13-26 อาจเป็นปีที่ 14, 15 หรือ 20-26 ปีที่ 15 หลังพุทธรรสู้เป็นปีที่พระพุทธเจ้าได้รับเด็จฯ เยี่ยมประยุทฺญาติอีกครั้งและประทับจำพรรษา ณ นิโคราธม กรณิการาม ซึ่งเป็นสถานที่เดียวกับที่พระนางปชชดิโดมมีลูกอ่อนญาติพระพุทธเจ้าในครั้งแรก และเป็นสถานที่เดียวกับที่พระพุทธเจ้าทรงห้ามพระประยุทฺญาติวิวาทกันด้วยแย่งน้ำในแม่น้ำโหสิน ซึ่งพระชายนั่งฝ่ายศากยวงศ์และโกลิวงศ์ 500 พระองค์ที่พระสตฺถุลงคมออกบวชหมดแล้ว จึงคิดตามเสด็จพระนางปชชดิโดมเพื่อขอบวชเป็นกิญจุในครั้งนี้
นอกจากนี้ จากปริมาณพระวินัยกุฏิของบัญญัติตัวของพระเซตวิมีประมาณ 80% ซึ่งเป็นไปได้พระวินัยของกิณจุซึ่งเป็นบัญญัติในสถานที่อื่นในช่วงปีที่ 12-15 หลังพุทธรรสู้ หากการกำเนิดกิญจุซึ่งมีชนหลังปีที่ 21 ของพุทธรรสู้ พระวินัยของกิญจุนี้น่าจะบัญญัติที่วัดพระเซตวันเกือบทั้งหมด แต่ความเป็นจริงยังมีข้อบัญญัติ
34 Mor (2005: 31-45)