ธรรมธารา วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ฉบับที่ 1 ปี 2559 ครุธรรม 8เป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติหรือไม่ (2) หน้า 24
หน้าที่ 24 / 83

สรุปเนื้อหา

บทความนี้เสนอการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างครุธรรม 8 กับปาจิตติย โดยมีการพิจารณาเกี่ยวกับการบัญญัติและการปฏิบัติของภิกษุ ซึ่งปรากฏถึงความขัดแย้งในตัวเองของครุธรรม โดยกล่าวถึง 2 แนวทางในการอธิบายว่าทำไมเนื้อหาของครุธรรม 8 ถึงมีความใกล้เคียงกับปาจิตติย ในประเด็นต่าง ๆ การวิเคราะห์นี้ช่วยให้เห็นภาพรวมของการบัญญัติธรรมในพระพุทธศาสนา..

หัวข้อประเด็น

-ครุธรรม 8
-ปาจิตติย
-การบัญญัติธรรม
-หลักปฏิบัติของภิกษุ
-ความขัดแย้งในครุธรรม

ข้อความต้นฉบับในหน้า

ธรรมธารา วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ฉบับที่ 1 ปี 2559 ว. ครุธรรมกับปาจิตติย มีข้อสังเกตว่าเนื้อหาบางข้อของครุธรรม 8 ตรงกับเนื้อหาของศีลปาจิตติยของภิกษุเช่น เดิมภิกษุนี่จั่วหุ้มประเด็นนี้มาแสดงความขัดแย้งกันในตัวของครุธรรมที่เนื้อหาไม่ตรงกันสัมพันธ์เสส แต่กลับมาดตรงกับปาจิตติย แต่จากคำอธิบายที่ได้กล่าวมแล้วข้างต้น ได้ควยะลบข้อสงสัย จนมาถึงปลายสุดท้ายว่า ทำไมเนื้อหาของครุธรรม 8 จึงตรงกับเนื้อหาของปาจิตติย ซึ่งมีความเป็นไปได้ 2 อย่างคือ 1. มีการบัญญัติสาขาบทปาจิตติยาก่อนแล้วค่อยบัญญัติครุธรรม 8 หลังสมุยพุทธกาล 2. การบัญญัติครุธรรม 8 มีอยู่ก่อน เมื่อภิกษุนไม่ได้ปฏิบัติตามครุธรรม 8 จึงมีบทลงโทษสำหรับผู้ไม่มกระทำตามครุธรรม 8 ด้วยการลงโทษที่ไม่หนักมากแค่ปาจิตติยจากข้างต้น มุมมองประการหลังจะสมเหตุสมผลมากกว่า เพราะหากไม่มีข้อบัญญัติธรรม 8 ก่อน จะรู้ได้อย่างไรว่า การปฏิบัติธรไม่ปฏิบัติอย่างไรเป็นการกระทำผิด จึงเป็นไปได้มากกว่า ครุธรรม 8 นั้นบัญญัติแล้ว เมื่อภิกษุไมปฏิบัติตาม เช่นนั้นจึงว่าผิด และได้กำหนดว่าความผิดแบบนี้เป็นอาบัตราปจิตติย ซึ่งประเด็นนี้ยังสามารถพิจารณาได้จากเหตุของข้อบัญญัติธรรมที่เกี่ยวกับครุธรรมโดยมักจะกล่าวว่าบรรดาภิกษุนี้เป็นผู้มีกน้อย ฯลฯ พากันดำหนิ ประณาม โพนทะนา เมื่อภิกษุนี้ไม่มักน้อยไม่ทำตามจึงทักท้วง เหตุการณ์นี้เป็นการยืนยันว่าข้อบัญญัติของครุธรรม 8 มาตั้งแต่แรกแล้ว เพราะถ้ามีข้อกำหนดครุธรรม ภิกษุนี้ผู้มีกน้อยจะอ้างเหตุอะไรก็ท้วง หากเป็นกรณีที่ยังไม่มีการบัญญัติธรรม 8 ในขณะเกิดเหตุ ข้อความในสภาพบนปาจิตติย่านจะเป็นว่า “ชาวบ้านหรือคนทั้งหลายโพนทะนา ตีเตือน” เพราะเป็นการกระทำที่ไม่เหมาะสมซึ่งพระพุทธเจ้าไม่ได้ทรงบัญญัติห้ามมาก่อน หากชาวบ้านติติง พระพุทธเจ้าจะทรงนำมาบัญญัติเป็นสิกขาบทได้ แต่ 37 วิภุณี. 5/372 /3907 (แปล.มมร.2543).
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More