ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมธารา วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ฉบับที่ 1 ปี 2559
ยิ่งไปกว่านั้นจะเห็นได้ว่า จากศีลปจติของกิญญูนิแสดงให้เห็นว่า ภิกษุไม่สามารถทำอะไรได้มากนัก จึงทำให้มีเหตุการณ์สตรีมีครรภ์ สตรีแม่ลูกอ่อน หรือสูติวิถี อยู่ ลักขมาไม่ครบ 2 ปีบางซึ่งจะเห็นว่า สิทธิเด็ดขาดดูเหมือนจะไม่ได้ ในเมื่อภิกษุสงฆ์ แต่คณะภิกษุสงฆ์เป็นแต่เครื่องกรองอีกชั้นในการรับเข้าเป็นสมาชิกใหม่ของสงฆ์ การบวชในสงฆ์ 2 ฝ่ายริมไม่ใช่สาเหตุหลักที่ทำให้ภิกษุณีสิ้นไปแต่จะเป็นการควบคุมคุณภาพการบวชของภิกษุณีมากกว่า พระอนาถโยได้อ้างพระบัญญัติ 2 ข้อ คือ
1) "คู่อนิภากษ์หลาย รายอนุญาตให้กษ์หลายอุปสมบทกิญญู"70
2) "เราอนุญาตให้บางอุปสัมปทาเบกะแอุปสมบทในสงฆ์มิฝ่ายเดียว บริสุทธิ์โนในสงฆ์นิสง์ แล้วอุปสมบทในกิญญูสงฆ์"71
และแสดงความเห็นว่า พุทธบัญญัติข้อที่ 2 ใช่ไม่มีมีกฎนิสงให้แล้ว แต่ในข้อที่ 1 ใช่ตอนที่ยังไม่มีมีกฏนี้เกิดขึ้นเลย จึงสรุปว่า หากภิกษุณีสงฆ์แล้วอันในข้อที่ 1 ก็สามารถใช้ได้ แต่พระอนาถโยอาจจะมีนำไปว่า เหตุตองของพระบัญญัติข้อที่ 1 นั้นพระพุทธเจ้าจงอนุญาตเฉพาะผู้ติดตามพระนางปชาบดีโคตม 500 คน เพราะว่าการบัญญัติธิบิดาจากการถามของพระนางว่าจะทำอย่างไรบ้างนางผิดตามที่ตั้งใจอยากบวชเช่นกัน แต่สำหรับกรณีอื่น ๆ นั้นบัญญัติจากสงฆ์ 2 ฝ่ายหมด ซึ่งในพระวินัยหลายที่ได้บัญญัติไว้ว่าหากภิกษุรับของหรือมีกรรมบังภิกขุที่บวชในสงฆ์ฝ่ายเดียวจะต้องอาบัติทุกกฎ ซึ่งหมายความว่าการบวชจากสงฆ์ฝ่ายเดียวไม่เป็นที่ยอมรับตั้งแต่สมบูรณ์กาลแล้ว หรือหากในเมียแร กามกุศลเพียงฝ่ายเดียวให้การบวชแก่อภิญญา จริงตามนั้น ก็จะเกิดคำถามว่าพระวินัยสามารถใช้กฎอุฏฐานได้หรือ ในนิติศาสตร์ประเทศศรีลังกาเอง เมื่อถึง
______
70 วิ.จ. 9/519/44817 (แปล ม.มจร.2543)
71 วิ.จ. 7/574/4726-4728
72 Anâlaya (2014: 1–7)