ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมนา วรรณสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ฉบับที่ 1 ปี 2559
เกิดประเด็นว่า ทำไมมรรคาสอนภิษุได้ แล้วทำไมภิษุนี้สอนไม่ได้ ประเด็นนี้ต้องย้อนกลับมามองดูคำแปลของคำว่า vacanapatha ที่ทางคัมภีร์ฉบับเก่ากว่านั้น หรือบางฉบับจะเน้นไว้ว่าผู้ที่ไม่ฟังพระสูตรพระวินัย ไม่ควรามภิษุ เรื่องพระสูตรพระวินัย ซึ่งในพจนานุกรมมารี-อังกฤษคำว่า vacanapatha มีความหมายว่า admonition ซึ่งแปลว่า กล่าวคำสั่งตำราสั่ง คำสั่งในทางเดิน ถนน ในพจนานุกรมภาษาไทยหมายถึง คำที่ควรนำมาปฏิบัติ ทั้ง 3 นัยมีความเหมือนกันตรงที่เป็นคำกล่าวแล้วผู้ทำต้องปฏิบัติ หรือควรปฏิบัติ ซึ่งน่าจะเป็นสิ่งที่ส่งผลหรือบ่งบอกวิธีปฏิบัติ ซึ่งมรวาส่วนใหญ่ที่มาสอนหรือถ่ายทอดความรู้ มักจะสอนหรือถ่ายทอดความรู้ในเรื่องวิชา การทางพระพุทธศาสตร์ มีได้สอนการปฏิบัติตัวเป็นนักบวช เนื่องจากว่า
ประการที่ 1 มรวาส่วนใหญ่ไม่มีประสบการณ์การเป็นนักบวช
ประการที่ 2 มรวาสไม่มีคุณสมบัติที่จะสอนการปฏิบัติตัวของภิษุ เปรียบเหมือนประชาชนอาจจะสอนการปฏิบัติตัวให้พระราชาได้ลง หรือหาผู้หญิงมาสอนทหารชายให้ปฏิบัติ ตัวเองเช่นทหารชายได้ ฉันใด มรวาส หรือภิษุนี้ ผู้มีเพศภาวะต่างกัน ก็อาจจะสอนการปฏิบัติของภิษุได้ในนั้น โดยเฉพาะการใช้คำสั่งใน การสอน แต่ภิษุนี้ อุบาสา หรืออุบาสิกาสามารถใช้คำพูดที่ดีในการเตือนสติเทคนิคในอรรถาธิบายที่กล่าวว่า “ท่านเจ้าขา พระเถระในปัจจุบันได้บำเพ็ญวัตรเช่นนี้ ๆ มา” โดยจะต้องไม่เอามาตรฐานการปฏิบัติของตนเองในเพศภาวะของภิษุส่ง หรืออุบาสก อุบาสิกา มาเป็นบรรทัดฐานเตือนภิษุ ซึ่งอาจกล่าวได้ว่า เหตุผลของการห้ามภิษุนี้สอนภิษุในเรื่องของการปฏิบัตินั้น เป็นเพราะด้านความแตกต่างในด้านเพศภาวะ ส่วนการส่งภิษุหรืภิษุนี้ มีเพียงพระพุทธเจ้า และพระมหากษัตริย์เท่านั้น ที่อาจจะทำได้ต่อภิษุหรือภิษุนี้
ช็อปญาณตนหากมองอีกมุมหนึ่ง อาจกล่าวได้ว่าเป็นการสนับสนุนให้ฝ่ายภิษุ