การวิเคราะห์ครุธรรมและการศึกษาสิกขาในพระพุทธศาสนา ครุธรรม 8เป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติหรือไม่ (2) หน้า 25
หน้าที่ 25 / 83

สรุปเนื้อหา

การบัญญัติอภิธรรมจิตติยืนยันถึงความเกี่ยวข้องกับครุธรรม 8 ที่เกิดขึ้นจากการศึกษาของภิกษุณี เมื่อกล่าวถึงครุธรรมข้อที่ 6 สตรีที่ประสงค์จะอุปสมบทจะต้องผ่านการศึกษาและรักษาศีลอย่างเคร่งครัด โดยเนื้อหานี้อธิบายถึงระเบียบการและข้อกำหนดที่ชัดเจนเพื่อรักษาอินซีควรของสงฆ์ โดยรวมถึงการวิเคราะห์ความสำคัญของครุธรรมและศีลที่จำเป็นในการประกอบเข้ากับการเป็นภิกษุณี

หัวข้อประเด็น

-การศึกษาภิกษุณี
-ครุธรรม 8
-ข้อกำหนดการอุปสมบท
-ศีล 5 และ ศีล 6

ข้อความต้นฉบับในหน้า

การบัญญัติอภิธรรมจิตติยิ่งมีเนื้อหาเกี่ยวกับครุธรรมส่วนใหญ่กลับมีเหตุจากภิกษุณี ผู้น้อยท่าทาง ดังนั้นการที่เนื้อความในปาจิตตยอมรับเนื่องกันกับครุธรรม 8 จึงเป็นการยืนยันว่า ครุธรรม 8 ได้เกิดขึ้นก่อนที่จะมีข้อบัญญัติทัศติยของภิกษุณี และยิ่งไปกว่านั้นยังเป็นการยืนยันว่า การทำผิดในธรรมหมายที่ต้องประพฤติมนต์กียนัในเดือนในครุธรรมข้อที่ 5 นั้นไม่ได้หมายถึงการทำผิดครุธรรม 8 อย่างแน่นอน เพราะการกระทำผิดครุธรรม 8 ก็มีบทลงโทษเบาในระดับปาจิตต์ยิ่งเท่านั้นเอง การวิเคราะห์ครุธรรมข้อที่ 6 dve vassāni chasu dhamme sukhitasikkhāyā sikkhamānāya ubha-tosanghe upasampāda parityesitabba aypami dhammo sakkatvā garukatvā mānetvā pūjetvā yāvajīvam anatikkamanyo 38 ภิกษุนี้ต้องแสงหาอุปสัมปทาในสงฆ์สองฝ่าย เพื่อสึกขมานผู้ศึกษาสิกขาในธรรม 6 ประกอบครบ 2 ปีแล้ว ธรรมแม้นั้อนไภษณีต้อง สักการะ เคาะฌ นับถือบูชา ไม่ล่วงละเมิดตลอดชีวิต39 ตามข้อกำหนดในครุธรรมข้อที่ 6 สตรีที่ต้องการอุปสมบทเป็นภิษนีจะต้องเป็น สิกขามานักษา 6 ข้อเป็นระยะเวลา 2 ปีและบวชในสงฆ์ 2 ฝ่าย สิกขามานา ซึ่งหมายถึงผู้ที่ศึกษาสิกขาและธรรม และห้ามผิดศีลที่ถือแม้เพียงข้อเดียว โดยทั่วไปแล้ว พุทธศาสนิกชนถือศีล 5 สิกขาข้อ 6 ที่สิกขามานต้องถือเพิ่มเติมนี้คืออะไรในวรรคกวาของ อังคุตตรนิกายได้อธิบายไว้ว่า ศีล 6 คือ นอกเหนือจากศีล 5 แล้วเพิ่มข้อศีลไม่
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More