ข้อความต้นฉบับในหน้า
วา มิใช่กุญแจที่กล่าวความผิดของภิกษุไม่ได้ เพราะอันที่จริงแล้วอาบาสก์กล่าวได้ กิเลสนี้ก็กล่าวได้ แต่จะกล่าวข้อใดอ่างว่า ในภิกษุณีชั้นทะ ภิกษุณีไม่พึงกล่าวโจร หรือไม่พึงทำการสืบสวนภิกษุ ไม่พึงเริ่มอนุวาทภิกรัณย์แก้ภิกษุ ไม่พึงสืบพยานภิกษุ แต่ให้ภิกษุทำการสืบสวนภิกษุ แม้ทำแล้วเป็นอันมิอัตถิ ภิกษุทำให้ไม่ต้องอาบัติ ให้กิเลสนี้ทำโอกาส แม้ทำแล้วเป็นอันให้หมดด้วยดี ภิกษุให้ไม่ต้องอาบัติ ให้โจรภิกษณ์นี้ให้โจรภิกษุให้โจรภิกษุให้โจรภิกษุทำโอกาส แม้สืบแล้วเป็นอันสืบด้วยดี ภิกษุให้สืบไม่ต้องอาบัติ104 การกล่าวความผิดของผู้กะผิดจริงกับการกล่าวโจร คือ กล่าวหาเป็นคนคนละครึ่ง เพราะโจรอาจจะเป็นจริง หรือไม่มี ก็ได้ แต่ “การกล่าวความผิด” หมายถึง การกล่าวความผิดอันมีมูลจริง ส่วนการสืบสวนสอบสวนและอนุวาทภิกรัณย์ก็เป็นคนละเรื่องกับการกล่าวความผิดของภิกษุหรือภิกษุนี้ดังนั้นประเด็นข้อใดนั้นเป็นอันตกไป
นอกจากนี้ ในพระวินัยยังลงโทษผู้ปิดความผิดของภิกษุ ภิกษุ ในกรณีของภิกษุนี้ทาบปิดการทำผิดนั้นบาปกรรมของเพื่อนภิกษุ ภิกษุนี้ผู้สั่นก็มีโทษถึงปาราชิกเช่นกัน105 ดังนั้นจึงเป็นหลักฐานบ่งชี้ว่าความผิดที่มีมูลควรกล่าวพระพุทธเจ้าห้ามปิด แต่ไม่ควรกล่าวโทษหรือความผิดของผู้อื่นโดยไม่ได้อยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริง หรือไม่มีมูล106 เพราะการกล่าวเช่นนั้นไม่ได้นำความบริสุทธิ์ให้เกิดแก่คณะสงฆ์ แต่เป็นการว่าจะว่ายังผู้อื่น เพราะฉะนั้นการกล่าวความผิดของภิกษุนี้ก็ได้