ข้อความต้นฉบับในหน้า
154 ธรรมธารา วรสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ฉบับที่ 1 ปี 2559
1. นิยของข้อนบัญญัติ
ลากาตารางผู้เขียนแบ่งประเภทของคำพูดไว้ 7 ประเภท คือ 1) การกล่าวร้ายผู้อื่นทางตรง 2) การกล่าวร้ายผู้อื่นทางอ้อม 3) กล่าวฟ้องร้อง 4) การกล่าวโกหก 5) การกล่าวด้วยความปรารถนา 6) การกล่าวด้วยความดี 7) การกล่าวให้ผู้อื่นกระทำผิดจากจำนวนข้อบัญญัติที่เกี่ยวกับคำพูดหรือกิจกรรมที่มีค่อนข้างมาก จะเห็นถึงความพิถีพิถัน ใส่ใจในการฝึกภาวะ ภูษณี โดยไม่ใช่แค่คำพูดปลด หรือพูดคำหยาม ส่อเสียดเพื่เจือ เมื่ อภิราณาในรายละเอียดของสิ่งจะเห็นว่า พระพุทธเจ้าทรงพิจารณาลงรายละเอียดยิ่งงามมาก เรื่องที่พูดแล้วสามารถไปกระทบใจผู้อื่น พระพุทธเจ้าทรงห้ามแง้จะบัญญัติว่า ห้ามกระทำต่อภิษฐ์ด้วยกัน แต่นั่นหมายความรวมถึง คำพูดดังกล่าวไม่มี ไม่เหมาะที่จะพูดกับใคร ๆ ทั้งสิ้น ซึ่งจากตามก็เป็นที่ประจักษ์แล้วว่า พระวินัยด้านวจีกรรมของกิจนี้มีมากกว่า กิจกุ คือกิจกรรมเป็นจุดอ่อนของสตรี ซึ่งเป็นปกติที่สตรีจะหยุดหย่่าย และมีโอกาสที่จะสดงอารมณ์เหล่านี้ผ่านทางวา ไม่ว่าจะเป็น การนินทา การกล่าวกระแทก หรืออื่น ๆ ซึ่งทำให้กิจนี้มีข้อบัญญัติด้านนี้มากว่ากิจษหลายข้อ เช่น ด่า บริภาษภิกษุ กิจภาษีสงฆ์ สาปแช่ง และพูดนินทานี้เป็นเพราะความโกรธ การที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติสิ่งเหล่านี้ ก็เป็นไปเพื่อความอยู่เป็นสุขแห่งพรหมจรรย์ เพื่อคณะสงส์และเพื่อความบริสุทธิ์ของกิจนี้ ดังนั้นจึงกล่าวได้ว่า นี้เป็นเหตุผลของการที่กิจนี้มีข้อบัญญัติด้านนี้มากกว่า แต่ต่อมาผู้ไม่เห็นด้วยกับเหตุผลข้างต้น ที่กิจนี้มีสัญลักษณ์มากกว่าเป็น เพราะได้รับเอาข้อบัญญัติของกิจมาด้วย จึงควรพิจารณาว่าแต่ละฝ่ายที่เห็นไม่ตรงกันนั้นฝ่ายใดมีมากกว่า ซึ่งจะสามารถดูได้จากตารางเปรียบเทียบ ศัลทั้งหมดระหว่างกิจและกิจนิยมของเผวาะ