ภิกษุนับตั้งแต่พระราชที่ 12 ถึงพระนางปชาชิตโคดม ครุธรรม 8เป็นสิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติหรือไม่ (2) หน้า 16
หน้าที่ 16 / 83

สรุปเนื้อหา

บทความนี้วิเคราะห์การเกิดภิกษุในบริบทของศาสนาพุทธ โดยเฉพาะช่วงที่พระราชที่ 12 ต่อเนื่องมาจนถึงยุคของพระนางปชาชิตโคดม เนื้อหานี้นำเสนอความยากของการเชื่อมโยงเหตุการณ์ประวัติศาสตร์กับอายุของพระพุทธเจ้าและพระนางปชาชิตโคดม โดยเกิดขึ้นในปีที่ต่างกัน อ้างอิงจากอรรถกถา และงานวิจัยล่าสุดจากศาสตราจารย์ญี่ปุ่น นอกจากนี้ยังมีการพูดถึงการใช้ตัวเลข 120 ปี ในพระไตรปิฎกที่มีความหมายเชิงสัญลักษณ์ ไม่ได้หมายความถึงอายุจริงของพระนาง.

หัวข้อประเด็น

-กำเนิดภิกษุ
-พระนางปชาชิตโคดม
-ประวัติศาสตร์พุทธศาสนา
-การวิเคราะห์อายุพระพุทธเจ้า
-การตีความหมายในพระไตรปิฎก

ข้อความต้นฉบับในหน้า

กำเนิดภิกษุนี่เกิดก่อนหรือหลังพระราชที่ 12 หลังพุทธรัชสมัย เนื่องจากว่ากเหตุการณ์เกี่ยวกับการยกองค์พระนางปจ sæd ค่ะ ฝ่ายรัตติญาณ กล่าวคือ ผู้เสด็จที่สุดแห่งภิกษุนี้ทั้งหลายในด้านเป็นผู้ตรัสรู้ นั้นเกิด ขึ้นเมื่อพระพุทธเจ้าประทับจำพรรษา ณ วัดพระเชตุวัน⁽⁽30⁾⁾ หากอ้างตามอรรถกถา พุทธวงศ์ศิลป์ให้ข้อมูลว่าพระพุทธเจ้าประทับจำพรรษาที่วัดพระเชตุวันในปีที่ 14 ก็เป็นไป ได้ยากที่จะรู้ว่าพระนางปชาชิตโคดมมีจะเสด็จเข้าสนพนก่อนเมื่อปี 12 หลังพุทธรัชสมัย ยิ่ง ไปกว่านั้นปี 12 หลังพุทธรัชสมัย เป็นปีพระพุทธเจ้าควรมีพระชนมายุได้ 47 พรรษา และพระนางปชาชิตโคดมควรมีพระชนมายุประมาณ 59-87 พรรษา (หากหญิงตั้งครรค์ เร็วสุดเมื่ออายุ 12 และชั่วสุดเมื่ออายุ 40 ปี) ในขณะที่ในมหาปชาชาติ โคดมมีเรือปฐทน ที่อยู่ในทุกกนิยายบันีกว่า เมื่อมีพระชนมายุ 120 ปี พระนางกล่าวทูลาขึ้นสนพนา⁽⁽31⁾⁾ ซึ่งเป็นไปได้ยากที่จะอายุของพระพุทธเจ้าห่างกับพระนางปชาชิตโคดมกว่า 40 ปี (120 ปี อายุขัยพระนาง - 80 ปีอายุขัยพระพุทธเจ้า)โดยอาศัยการคำนวณอายุขัยของ พระพุทธเจ้าที่ 80 พรรษา อย่างไรก็ดีตามข้อมูลทั้ง 2 นี้อาจจะสรุว่า พระนางปชาชิต- โคดมินพนามเมื่ออายุเท่าได สำหรับในปัจจุบันนี่มนักวิจัยชาวญี่ปุ่นนี้คือ ศาสตราจารย์ โมริ โจจิ(森喜司)ได้แสดงความเห็นว่า ตัวเลข 120 ปี เป็นตัวเลขที่นิยมในพระไตรปิฎก สำหรับการแสดงให้เห็นถึงความมีอายุยืน แต่ไม่ได้หมายความว่ามีอายุ 120 ปีจริง ๆ นอกจากนี่ยังได้อ้างพระสูตรในคัมภีร์เถรวาทซึ่งไม่สามารถหาพระสูตรบาเลเทียบ เคียงได้โดยให้เห็นว่าที่พิพานของพระนางปชาชิตโคดมเป็นปีเดียวกับที่พระพุทธเจ้า
แสดงความคิดเห็นเป็นคนแรก
Login เพื่อแสดงความคิดเห็น

หนังสือที่เกี่ยวข้อง

Load More