ข้อความต้นฉบับในหน้า
ธรรมหฤฐาน วารสารวิชาการทางพระพุทธศาสนา ฉบับที่ 1 ปี 2559
นอกจากนี้คำแนะนำในเรื่องการปฏิบัติของภิษฺษณะที่พระพุทธเจ้าทรงประทานให้ว่า ให้ภิกษุศึกษาสิกขาขั้นของภิษฺษณะและศีลของภิษฺษณะนี้มีมากกว่าภิกษุ เพราะว่าได้รับเอกทั้งบทบัญญัติที่เกิดจากการทำความผิดของภิษฺษณะและบทบัญญัติที่เกิดจากการทำความผิดของภิษฺษณะไว้ด้วยกัน ซึ่งจะกล่าวว่าพระพุทธเจ้าได้อาศัยบัญญัติและข้อกำหนดสำหรับของภิษฺษณะเป็นบรรทัดฐานหรือข้อพิจารณาเบื้องต้นในการตั้งข้อบัญญัติของภิษฺษณะ
จากหลักฐานข้างต้นและหลักฐานการกำเนิดของภิษฺษณะหลังการเกิดพระวินัยของภิษฺษณะได้ยืนยันสมมติฐานว่ามา พระพุทธเจ้าอาศัยข้อบัญญัติของภิษฺษณะในการกำหนดดครรรม หรือบงสนทรงโทษ ดังนั้นในเรื่องของธรรมหนักและส่งมาเสส ที่เป็นปัญหา่ว่า หากยังไม่มีภิษฺษณะประพฤติผิดแล้ว จะมาบัญญัติสงมาทเสส่งได้อย่างไรจึงกคลิดคลายจากหลักฐานข้างต้นดังกล่าว
ข. ครัธรรมกับสังคามิส 17 ข้อ
ภิษฺษณะเจ้าหนี้เข้าใจว่า หากทำผิดครรธรรม 8 แล้วต้องประพฤติ มนต์กิณฑ์เดือนซึ่งเป็นบทลงโทษสำหรับการทำผิดส่งมาทเส ดังนั้น ในคำของท่านเห็นว่า garudhama = ครัธรรม 8 ทำแล้วต้องอาบัติส่งมาทเส ท่านจึงมีข้อสงสัยอีกข้อหนึ่งว่า ในสมมติส่งมาทเส 17 ข้อของภิษฺษณะ กลับไม่มีข้อใดเนื้อเดียวกับครรธรรม 8 เล่า ท่านจึงสรุปว่าควรเป็นไปว่า ครรรธรรม 8 เป็นสิ่งที่มาภายหลังพุทธกาล36 จากการพิจารณาเนื้อหาในข้อ 2 จะเห็นได้ว่า คำว่า “ครรรธรรม” ในครรรธรรมข้อที่ 5 บัญญัติบทลงโทษคล้ายอาบัติส่งมาทเสของภิษฺษณะเป็นไปได้ว่า คำว่า “garudhama ครรรธรรม” ในครรรธรรมข้อที่ 5 นี้ ไม่ได้หมายถึงครรรณธรรม 8 แต่หมายถึงอาบัติหนัก คือ อาบัติส่งมาทเส ดังนั้นคำกล่าวของภิษฺษณะเจ้าหยูจึงอ้างว่ากว่า “ยังไม่มีผู้ที่กระทำผิดครรรธรรม 8 เลยแล้ว
36 Shi, Zhaohui (2001: 209).